เวอร์ชันเต็ม: [-- ประวัติความเป็นมาของ สำนักงานประกันสังคม --]

จำหน่ายข้อสอบ แจ้งข่าวการสอบ รับราชการ ก.พ. อบต. ครูผู้ช่วย ตำรวจ ไฟฟ้า ธกส. -> สำนักงานประกันสังคม -> ประวัติความเป็นมาของ สำนักงานประกันสังคม [สั่งพิมพ์] เข้าสู่ระบบ -> ลงทะเบียน -> ตอบกลับ -> ตั้งกระทู้

admin 2015-06-27 23:17

ประวัติความเป็นมาของ สำนักงานประกันสังคม

ความเปนมาของการประกันสังคม 



     ยอนกลับไปราวกลางศตวรรษที่ 18 ประเทศเยอรมันไดเผชิญกับภาวะวิกฤตของสังคมและความตกต่ําทางเศรษฐกิจ ประชากรพลเมืองในขณะนั้นไดแปรสภาพเปนคนอนาถา คนขอทานไมมีงานทํา และอาชญากรกลาดเกลื่อนไปหมด โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อเกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรมแรงงานยิ่งถูกกดขี่ ชั่วโมงการทํางานเพิ่มขึ้น ในขณะที่คาจางจายใหเพียงเล็กนอย ขณะเดียวกันแรงงานเด็กและสตรีกลับเปนที่ตองการของนายจางจํานวนมากเนื่องจากคาแรงถูก สวัสดิการตางๆของผูใชแรงงานเมื่อเกิดการเจ็บปวย ทุพพลภาพ วางงานก็ไมมีหรือแมแตในยามแกเฒาก็จะไมไดรับความชวยเหลือใดๆ นอกจากอาศัยบรรดาญาติพี่นอง เพื่อนฝูง หรือองคกรการกุศลตางๆ ที่อยูในชุมชน สําหรับรัฐบาลเอง ถึงแมจะพยายามแกไขปญหา แตปญหาดังกลาวก็ยังคงอยูและทวีความรุนแรงขึ้นจากปญหาดังกลาวจึงเปนที่มาของความพยายามที่จะใหมีการประกันสังคมขึ้นเปนครั้งแรกในประเทศเยอรมันเมื่อปพ.ศ. 2524 (1881) ภายใตการปกครองของ Riech Chancelor Bismarck โดยหลักการในสมัยนั้นตองการใหประชาชนในความปกครองที่เปนลูกจางไดรับบํานาญ ดวยการใหนายจางและรัฐเปนผูรับภาระคาใชจายของการประกันสังคมรวมกับลูกจางในการจายเงินสมทบสําหรับการเจ็บปวย ทุพพลภาพ และการไดรับบํานาญ โดยใชวิธีหักเงินสมทบจากคาจางสุทธิแตแนวความคิดนี้ถูกตอตานตั้งแตครั้งแรกเนื่องจากตัวกฎหมายในขณะนั้นทําใหการประกันสังคมที่จัดขึ้นโดยภาครัฐไมนาเชื่อ มีผลใหผูใชแรงงานในระยะแรกไมเขาใจ จึงไมยอมรับระบบใหมที่จะเกิดขึ้นพรอมกันนั้นไดพยายามขยายกองทุนสําหรับการชวยเหลือคนงานดวยกันออกไปมากขึ้นอยางไรก็ตาม ในสองปตอมาคือปพ.ศ. 2546(1883) ประเทศเยอรมันไดตรากฎหมายประกันสังคมฉบับแรกขึ้นบังคับใชเพื่อใหความคุมครองแกลูกจางในเรื่องการรักษาพยาบาลยารักษาโรค และใหประโยชนทดแทนกรณีเจ็บปวยหากผูประกันตนไมสามารถทํางานไดอันเนื่องมาจากการเจ็บปวยที่เกิดขึ้นเปนระยะเวลา 13 สัปดาหโดยลูกจางที่อยูในความคุมครองจะตองมีคาจางหรือรายไดไมเกิน 2,000 มารคตอปและลูกจางจะตองจายเงินสมทบเขาโครงการดวย 2 สวนในขณะที่นายจางจายเพียง 1 สวน ของคาใชจายทั้งหมดหลังจากนั้นตอมาอีกหนึ่งปใน พ.ศ. 2547 (1884) การประกันเกี่ยวกับการประสบอันตรายที่เกิดจากการทํางานก็ไดเกิดขึ้น โดยในระยะแรกเริ่มใชในอุตสาหกรรมบางสาขากอนเพื่อใหนายจางรับผิดชอบตอการประสบอันตรายจากการทํางานของลูกจาง การประกันประเภทนี้ไดใหความคุมครองในเรื่องของคาใชจายในกรณีเจ็บปวยจากการทํางานของลูกจางรวมไปถึงการจายบํานาญใหในกรณีที่ลูกจางสูญเสียสมรรถภาพ และจายบํานาญใหแกผูอยูในอุปการะในกรณีลูกจางเคราะหรายเสียชีวิต ซึ่งจะรวมถึงการจายคาทําศพดวย

ถูกใจเพื่อรับข้อมูลข่าวสาร แนวข้อสอบ
      ตอมาในอีกหาปในปพ.ศ. 2542 (1889) ไดมีการบัญญัติกฎหมายใหความคุมครองแกผูทุพพลภาพและคนชราขึ้น โดยมีจุดมุงหมายเพื่อจายบํานาญใหคนงานที่เคยรับเงินเดือนและคาจางแลวตอมาไดสูญเสียความสามารถในการทํางาน และไดมีการจายบํานาญใหแกผูมีอายุ 70 ปแตอยางไรก็ตามไมมีคนงานรายใดที่จะมีชีวิตอยูจนครบอายุ 70 ปตามที่กําหนดเพราะมักจะกลายเปนผูทุพพลภาพหรือไมก็เสียชีวิตไปกอน สวนอัตราบํานาญในขณะนั้นคอนขางต่ํามาก และเปนที่นาสังเกตวาในสมัยนั้นการบริหารงานตามกฎหมายฉบับนี้จะมีองคกรบริหารเปนของตนเองโดยมีผูแทนจากนายจางและลูกจางเปนผูบริหารคาใชจายที่นํามาใชจาย มาจากเงินสมทบของนายจางครึ่งหนึ่งลูกจางครึ่งหนึ่งโดยมีรัฐบาลใหการอุดหนุนบางสวนเทานั้นถึงแมวากฎหมายประกันสังคมของเยอรมันในขณะนั้นจะมีขอบกพรองอยูมากแตอยางไรก  ตาม ็การประกันสังคมของเยอรมันถือเปนนโยบายทางสังคมที่สามารถนํามาใชไดอยางเปนระบบเปนประเทศแรกในโลก ทําใหประเทศตางๆ นํารูปแบบไปปรับใชในเวลาตอมาอยางแพรหลายสวนทางดานเอเชีย ญี่ปุนเปนประเทศแรกที่นําระบบประกันสังคมในเรื่องการประกันการประสบอันตรายและโรคเนื่องมาจากการทํางานมาใชเมื่อปพ.ศ. 2454 มีการประกันสุขภาพในปพ.ศ. 2484และสุดทายคือการประกันการวางงานในปพ.ศ. 2490 นับวาประเทศญี่ปุนไดกาวหนาไปมากกวาประเทศใดๆในเอเชีย ซึ่งหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 แลวประเทศอินเดีย พมา ฟลิปปนสปากีสถาน ฯลฯจึงไดเริ่มนําระบบประกันสังคมมาใชการประกันสังคมในประเทศไทยยุคแรก (พ.ศ. 2495 - 2500)การประกันสังคมไดเริ่มมีบทบาทเขามาสูประเทศไทยเมื่อปพ.ศ. 2495 โดยรัฐบาลในสมัยนั้นไดแตงตั้งคณะกรรมการขึ้นชุดหนึ่งชื่อวา “คณะกรรมการสังคมสงเคราะห” เพื่อใหมีหนาที่คณะกรรมการดังกลาวประกอบดวย จอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีเปนประธานและกรรมการอื่นอีก 11 คน ทั้งนี้ คณะกรรมการชุดนี้มีความประสงคที่จะสงเสริมใหประชาชนไดมีที่ดินและบานเรือนเปนของตนเอง ประกอบสัมมาอาชีพเปนหลักฐาน และจัดเรื่องสงเคราะหเพื่อคุมครองตนเองและครอบครัวใหประสบความผาสุกและมีหลักประกันในความเปนอยูแหงชีวิตเชน ในกรณีที่มีบุตรมากการคลอดบุตร พิการ ทุพพลภาพ ชราภาพและมรณกรรม ฯลฯดังนั้น คณะกรรมการชุดนี้จึงมีความเห็นวาการจะชวยเหลือประชาชนใหมีหลักประกันมั่งคงแนนอนและสม่ําเสมอตลอดไปนั้นจําเปนตองดําเนินการดวยวิธีการประกันสังคม จึงไดแตงตั้งคณะอนุกรรมการสังคมสงเคราะหประกอบดวย พลตรีประยูร ภมรมนตรีเปนประธาน และมีนายเสวตร เปยมพงศสานตและนายสุขุม มกราภิรมยเปนอนุกรรมการเพื่อใหพิจารณาเสนอหลักการและวิธีการดําเนินการดังกลาวเมื่อการพิจารณาเสร็จสิ้นลงคณะอนุกรรมการสังคมสงเคราะหจึงไดนําเสนอความเห็นตอประธานคณะกรรมการสังคมสงเคราะหพรอมกับเสนอรางพระราชบัญญัติประกันสังคม 

ถูกใจเพื่อรับข้อมูลข่าวสาร แนวข้อสอบ


เวอร์ชันเต็ม: [-- ประวัติความเป็นมาของ สำนักงานประกันสังคม --] [-- top --]


Powered by PHPWind v7.5 SP3 Code ©2003-2010 PHPWind
Time 0.036027 second(s),query:1 Gzip enabled

You can contact us