ประยุกต์ใช้ โพสล่าสุด โพสสำคัญ เครื่องมือ สมาชิก สถิติฟอรั่ม ธนาคาร
หัวข้อ : ข้อสอบ ป.ป.ช. ตำแหน่งเจ้าพนักงานตรวจสอบทรัพย์สินปฏิบัติการ
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

ข้อสอบ ป.ป.ช. ตำแหน่งเจ้าพนักงานตรวจสอบทรัพย์สินปฏิบัติการ

1.       พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ฉบับปัจจุบันแก้ไข 

          เพิ่มเติมฉบับใด พ.ศ. ใด 

          ก.  ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2550                                                             ข.  ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2551 

          ค.   ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2552                                                            ง.    ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554 

          ตอบ    ง.  ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554 

2.       พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 มีผลบังคับใช้เมื่อใด 

          ก.   ตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา 

          ข.   ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา 

          ค.   7 วันหลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา 

          ง.   15 วันหลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา 

          ตอบ    ข.  ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา 

                       มาตรา 2 พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้ ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศ 

          ในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป 

3.       “ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง”  หมายความถึงบุคคลใด

          ก.   นายกรัฐมนตรี                                                                     ข.   รัฐมนตรี

          ค.   สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร                                                 ง.    ถูกทุกข้อ

          ตอบ    ง.  ถูกทุกข้อ 

                       “ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง”  หมายความว่า

                     (1)  นายกรัฐมนตรี

                      (2)  รัฐมนตรี

                      (3)  สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

                      (4)  สมาชิกวุฒิสภา

                      (5)  ข้าราชการการเมืองอื่นนอกจาก (1) (2) ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการการเมือง

                    (6)  ข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมืองตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการฝ่ายรัฐสภา

                    (7)  ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร

                    (8)  ผู้บริหารและสมาชิกสภาเทศบาลนคร


                    (9)  ผู้บริหารท้องถิ่นและสมาชิกท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีรายได้หรืองบประมาณ

          ไม่ต่ำกว่าเกณฑ์ที่คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติกำหนดโดยประกาศใน

          ราชกิจจานุเบกษา

4.       การที่ทรัพย์สินหรือหนี้สินในบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินที่ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองได้ยื่น

          เมื่อพ้นจากตำแหน่งมีการเปลี่ยนแปลงไปจากบัญชีแสดงรายการ ทรัพย์สินและหนี้สินที่ได้ยื่นเมื่อเข้ารับ

          ตำแหน่งในลักษณะที่ทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติหรือหนี้สินลดลงผิดปกติ หมายความถึงข้อใด

          ก.   ทุจริตต่อหน้าที่                                                                    ข.   ทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ            

          ค.   ร่ำรวยผิดปกติ                                                                      ง.    ทุจริตต่อหน้าที่

          ตอบ    ข.  ทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ 

                        “ทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ”  หมายความว่า การที่ทรัพย์สินหรือหนี้สินในบัญชีแสดงรายการ

          ทรัพย์สินและหนี้สินที่ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองได้ยื่นเมื่อพ้นจากตำแหน่งมีการเปลี่ยนแปลงไปจาก 

          บัญชีแสดงรายการ ทรัพย์สินและหนี้สินที่ได้ยื่นเมื่อเข้ารับตำแหน่งในลักษณะที่ทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ 

          หรือหนี้สินลดลงผิดปกติ 

5.       หมวด 1 ใน พรบ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับ 

          เรื่องใด 

ก.    คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 

ข.    อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 

ค.    การตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สิน 

ง.    การไต่สวนข้อเท็จจริง 

          ตอบ    ก.  คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 

6.       คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติเรียกโดยย่อว่าอะไร 

          ก.   คณะกรรมการ ป.ป.ช.                                                        ข.   คณะกรรมการ ปปช. 

          ค.   คณะกรรมการ คปช.                                                          ง.    คณะกรรมการ คกช. 

          ตอบ    ก.  คณะกรรมการ ป.ป.ช. 

                      มาตรา 6 ให้มีคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติเรียกโดยย่อว่า 

          “คณะกรรมการ ป.ป.ช.”  ประกอบด้วยประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอื่นอีก

          แปดคน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา 

7.       คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวนกี่คน

          ก.   ห้าคน                                                                                    ข.   หกคน

          ค.   เจ็ดคน                                                                                   ง.    แปดคน

          ตอบ    ง.  แปดคน 

                      มาตรา 6 ให้มีคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติเรียกโดยย่อว่า 

          “คณะกรรมการ ป.ป.ช.”  ประกอบด้วยประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอื่นอีก

          แปดคน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา 

8.       คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาตินั้น

          พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำและยินยอมของผู้ใด

          ก.   วุฒิสภา                                                                                 ข.   รัฐสภา

          ค.   คณะรัฐมนตรี                                                                      ง.    นายกรัฐมนตรี

          ตอบ    ก.  วุฒิสภา 

                      คำอธิบายดังข้อข้างต้น 

9.       ประธานวุฒิสภา จัดให้มีคณะกรรมการสรรหากรรมการจำนวนกี่คน 

          ก.   สิบคน                                                                                   ข.   สิบสองคน

          ค.   สิบสามคน                                                                           ง.    สิบห้าคน       

          ตอบ    ง.  สิบห้าคน 

                      มาตรา 7 การสรรหาและการเลือกกรรมการให้ดำเนินการดังต่อไปนี้ 

                       (1)  ให้ประธานวุฒิสภาจัดให้มีคณะกรรมการสรรหากรรมการจำนวนสิบห้าคน ประกอบด้วย 

          ประธานศาลฎีกา ประธานศาลรัฐธรรมนูญ ประธานศาลปกครองสูงสุด อธิการบดีของสถาบันอุดมศึกษา 

          ของรัฐที่เป็นนิติบุคคลทุกแห่งซึ่งเลือกกันเองให้เหลือเจ็ดคน ผู้แทนพรรคการเมืองทุกพรรคที่มีสมาชิก 

          เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคละหนึ่งคน ซึ่งเลือกกันเองให้เหลือห้าคน และให้คณะกรรมการ 

          สรรหามีหน้าที่สรรหาและจัดทำบัญชีรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิจำนวนสิบแปดคนเสนอต่อประธานวุฒิสภา 

          โดยต้องเสนอพร้อมความยินยอมของผู้ได้รับการเสนอชื่อนั้นทั้งนี้ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่มีเหตุ 

          ทำให้ต้องมีการเลือกบุคคลให้ดำรงตำแหน่งดังกล่าว มติในการเสนอชื่อต้องมีคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 

          สามในสี่ของจำนวนกรรมการสรรหาทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ 

10.     ข้อใดเป็นคณะกรรมการสรรหากรรมการ 

          ก.   ประธานศาลฎีกา                                                                ข.   ประธานศาลรัฐธรรมนูญ 

          ค.   ประธานศาลปกครองสูงสุด                                             ง.    ถูกทุกข้อ 

          ตอบ    ง.  ถูกทุกข้อ 

                      คำอธิบายดังข้อข้างต้น 

11.     การคัดเลือกบุคคลให้ดำรงตำแหน่งคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม 

          การทุจริตแห่งชาตินั้น ต้องได้รับคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าเท่าใดของจำนวนกรรมการสรรหาทั้งหมด 

          เท่าที่มีอยู่ 

          ก.   ไม่น้อยกว่าหนึ่งในสอง                                                    ข.   ไม่น้อยกว่าสองในสาม 

          ค.   ไมน้อยกว่าสองในห้า                                                        ง.    ไม่น้อยกว่าสามในสี่ 

          ตอบ    ง.  ไม่น้อยกว่าสามในสี่ 

                       ต้องมีการเลือกบุคคลให้ดำรงตำแหน่งดังกล่าว มติในการเสนอชื่อต้องมีคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจำนวนกรรมการสรรหาทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ 

12.     ผู้ได้รับการเสนอชื่อเป็นกรรมการนั้น ต้องมีอายุไม่ต่ำกว่าเท่าใด 

          ก.   สามสิบห้าปีบริบูรณ์                                                           ข.   สี่สิบปีบริบูรณ์ 

          ค.   สี่สิบห้าปีบริบูรณ์                                                               ง.    ห้าสิบปีบริบูรณ์ 

          ตอบ    ค.  สี่สิบห้าปีบริบูรณ์ 

                       มาตรา 9   ผู้ได้รับการเสนอชื่อเป็นกรรมการต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ 

                       (1)  มีสัญชาติไทยโดยการเกิด 

                       (2)  มีอายุไม่ต่ำกว่าสี่สิบห้าปีบริบูรณ์ 

                       (3)  เคยเป็นรัฐมนตรี  ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ กรรมการการเลือกตั้ง ผู้ตรวจการแผ่นดินของ 

          รัฐสภา กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ หรือกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน หรือรับราชการหรือเคย 

          รับราชการในตำแหน่ง ไม่ต่ำกว่ารองอัยการสูงสุด อธิบดีหรือเทียบเท่าหรือดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่า 

          ศาสตราจารย์ 

13.     กรรมการมีวาระในการดำรงตำแหน่งกี่ปี นับแต่ได้รับการแต่งตั้ง 

          ก.  สองปี                                                                                    ข.   สี่ปี

          ค.   หกปี                                                                                      ง.    เก้าปี

          ตอบ    ง.  เก้าปี 

                       มาตรา 12  กรรมการมีวาระการดำรงตำแหน่งเก้าปีนับแต่วันที่ พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง 

          และให้ดำรงตำแหน่งได้เพียงวาระเดียว 

14.     คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติพ้นจากตำแหน่ง 

          ตามข้อใด 

          ก.   ตาย                                                                                        ข.   มีอายุครบเจ็ดสิบปีบริบูรณ์ 

          ค.   ต้องคำพิพากษาให้จำคุก 

          ตอบ    ง.  ถูกทุกข้อ 

                       มาตรา 13  นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระตาม มาตรา 12 กรรมการพ้นจากตำแหน่ง

          เมื่อ     (1)  ตาย 

                     (2)  มีอายุครบเจ็ดสิบปีบริบูรณ์ 

                     (3)  ลาออก 

                      (4)  ขาดคุณสมบัติตามมาตรา 9 หรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 10 

                      (5)  กระทำการอันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา 11 

                      (6)  วุฒิสภามีมติให้พ้นจากตำแหน่งตามมาตรา 16 

                      (7)  ต้องคำพิพากษาให้จำคุก 

15.     เมื่อกรรมการพ้นจากตำแหน่งให้เริ่มดำเนินการสรรหาภายในกี่วันนับแต่วันที่พ้นจากตำแหน่ง 

          ก.   ภายในเจ็ดวัน                                                                      ข.   ภายในสิบห้าวัน 

          ค.   ภายในสามสิบวัน                                                               ง.    ภายในสี่สิบห้าวัน 

          ตอบ    ค.  ภายในสามสิบวัน 

                       มาตรา 14  เมื่อกรรมการพ้นจากตำแหน่งให้เริ่มดำเนินการตามมาตรา 7 ภายในสามสิบวัน 

          นับแต่วันที่พ้นจากตำแหน่ง 

จำหน่ายไฟล์เอกสารแนวข้อสอบสำนักงาน ป.ป.ช. ปี 2554
   ประกอบด้วย1) ตำแหน่งพนักงานบริหารทั่วไปปฏิบัติงาน

2) ตำแหน่งเจ้าพนักงานป้องกันการทุจริตปฏิบัติการ
3) ตำแหน่งเจ้าพนักงานตรวจสอบทรัพย์สินปฏิบัติการ
4) ตำแหน่งเจ้าพนักงานปราบปรามการทุจริตปฏิบัติการ
หมายเหตุในการจัดสอบครั้งนี้จะมีการบรรจุหลายร้อยอัตรา เพื่อรองรับการขยายงานทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ที่มีการจัดตั้ง สำนักงานป.ป.ช. จังหวัด ขึ้นทุกจังหวัด  ตามพรบ.ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ.2554

เจ้าพนักงานบริหารทั่วไปปฏิบัติงาน
แนวข้อสอบ+สรุปประเด็นทีออกสอบเป็นปัจจุบัน ถูกต้อง ตรงประเด็นตามแนวที่ออกสอบ
สารบัญหนังสือแนวข้อสอบเจ้าพนักงานบริหารทั่วไปปฏิบัติงาน
ส่วนที่ 1 พรป ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2542         
แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2554 ชุดที่ 1
ส่วนที่ 2 พรป ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2542         
แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2554 ชุดที่ 2
ส่วนที่ 3  ข้อสอบความรู้เกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน         
ส่วนที่ 4  ข้อสอบความรู้เกี่ยวกับงานพัสดุ        
ส่วนที่ 5  ข้อสอบงานสารบรรณ งานธุรการ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี        
ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
ส่วนที่ 6  ข้อสอบความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์                    
สรุปประเด็นข้อสอบ พรป. ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตฯ  
เจ้าพนักงานปราบปรามการทุจริตปฏิบัติการ

แนวข้อสอบ+สรุปประเด็นทีออกสอบเป็นปัจจุบัน ถูกต้อง ตรงประเด็นตามแนวที่ออกสอบ
สารบัญ
ส่วนที่ 1 พรป ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2542         
แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2554 ชุดที่ 1
ส่วนที่ 2 พรป ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2542         
แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2554 ชุดที่ 2
ส่วนที่ 3  ข้อสอบ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 (เฉพาะที่เกี่ยวกับ ป.ป.ช.)         
ส่วนที่ 4  ข้อสอบ พรบ.ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ.2540         
ส่วนที่ 5  ข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ   บ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546
ส่วนที่ 6  พรป.ว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงาน  ของรัฐ พ.ศ.2542        
ส่วนที่ 7  ข้อสอบพรบ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน   2551                                                    
ส่วนที่ 8  ข้อสอบประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา        
ส่วนที่ 9  คำพิพากษาฎีกาเกี่ยวกับความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการที่สำคัญ        
สรุปประเด็นข้อสอบ พรป. ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตฯ  
เจ้าพนักงานตรวจสอบทรัพย์สินปฏิบัติการ
แนวข้อสอบ+สรุปประเด็นทีออกสอบ เป็นปัจจุบัน ถูกต้อง ตรงประเด็นตามแนวที่ออกสอบ
สารบัญ
ส่วนที่ 1 พรป ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2542         
แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2554 ชุดที่ 1
ส่วนที่ 2 พรป ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2542         
แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2554 ชุดที่ 2
ส่วนที่ 3 ข้อสอบ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 (เฉพาะที่เกี่ยวกับ ป.ป.ช.)         
ส่วนที่ 4  ข้อสอบ พรบ.ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ.2540         
ส่วนที่ 5  ข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546
ส่วนที่ 6  พรป.ว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่ง ทางการเมือง  พ.ศ.2542        
ส่วนที่ 7  ข้อสอบ ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์งบแสดงฐานะการเงิน                                        
 
สรุปประเด็นข้อสอบ พรป. ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตฯ  

เจ้าพนักงานป้องกันการทุจริตปฏิบัติการ

แนวข้อสอบ+สรุปประเด็นทีออกสอบ เป็นปัจจุบัน ถูกต้อง ตรงประเด็นตามแนวที่ออกสอบ
สารบัญ
ส่วนที่ 1 พรป ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2542         
แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2554 ชุดที่ 1
ส่วนที่ 2 พรป ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2542         
แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2554 ชุดที่ 2
ส่วนที่ 3  ข้อสอบ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 (เฉพาะที่เกี่ยวกับ ป.ป.ช.)         
ส่วนที่ 4  ข้อสอบ พรบ.ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ.2540         
ส่วนที่ 5 ข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ      บ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546
ส่วนที่ 6  ข้อสอบ ความรู้เกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์                                        
ส่วนที่ 7  ข้อสอบ ความรู้เกี่ยวกับสังคมไทย วัฒนธรรม ค่านิยม และทัศนคติของคนไทย
ส่วนที่ 8  ความรู้เกี่ยวกับการมีส่วนร่วมและการสร้างเครือข่าย  
ส่วนที่ 9  ข้อสอบ ความรู้เกี่ยวกับจิตวิทยาสังคม และการศึกษา                                                                                  
ส่วนที่ 10  ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์วิจัยและการป้องกันการทุจริต                        
ส่วนที่ 11  ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันการทุจริต                        

 
สรุปประเด็นข้อสอบ พรป. ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตฯ  

รวมแนวข้อสอบเก่าเด็ดๆๆ  และข้อสอบที่ออกบ่อยมากส่งทางอีเมล์เป็นไฟเอกสาร
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย  ในราคาเพียงชุดละ   399 บาทสนใจสั่งซื้อมาที่  

decho.by@hotmail.com
ส่งทางอีเมล์เป็นไฟเอกสารกรุณาชำระค่าสินค้าและบริการเลขที่บัญชี 491-2-00428-2 ธ.กสิกรไทย 
บิ๊กซีขอนแก่decho pragay  ออมทรัพย์โอนเงินแล้วโทรแจ้งที่  โทร085-0127724
จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   0934903924
รายละเอียดไฟล์แนบ
กล่องตอบกลับด่วน

สามารถอัพโหลดไฟล์แนบ สำหรับโพสได้
กด "Ctrl+Enter" เพื่อตั้งกระทู้ได้