ประยุกต์ใช้ โพสล่าสุด โพสสำคัญ เครื่องมือ สมาชิก สถิติฟอรั่ม ธนาคาร
หัวข้อ : เก็งข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม ใหม่ล่าสุด
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

เก็งข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม ใหม่ล่าสุด

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบสำนักงานประกันสังคม นักวิชาการแรงงาน ใหม่ล่าสุด

รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ

- ข้อมูลเกี่ยวกับความเป็นมาของการประกันสังคม

- แนวข้อสอบเกี่ยวกับสำนักงานประกันสังคม

- กฎหมายประกันสังคม

- สวัสดิการแรงงานนอกระบบ
- อนาคตสังคมไทยกับงานด้านสวัสดิการสังคม

- แนวข้อสอบนักวิชากาแรงงาน

- แนวข้อสอบ กฎหมาย ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ.2547


สนใจสั่งซื้อมาที่ 080-604-2510 ,080-604-2504 หรือ ส่ง SMS / (WhatsApp , LINE)
ส่งเป็นไฟล์เอกสารส่งทางอีเมล์ สามารถนำไปปริ้นเพื่ออ่านได้เลย ในราคาเพียงชุดละ 399 บาท
ส่งเป็นไฟล์เอกสารทางอีเมล์ *อย่างด่วนภายใน 3 ชม. *อย่างช้าก่อน 24:00 น. ของวันที่โอนเงิน (อย่าลืม! เช็คที่ อีเมลขยะ)
(เปิดบริการทุกวัน เวลา 8.00 - 24.00 น.)
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
ธ.กสิกรไทย ออมทรัพย์ สาขาถนนสาธุประดิษฐ์ เลขที่บัญชี 041-2-34899-2 ชื่อบัญชี สายรุ้ง สิงห์ศรี
โอนเงินแล้วแจ้งที่
lookmoo_00@hotmail.com

1.     การจ่ายเงินชดเชยประกันสังคมจ่ายในกรณีใดต่อไปนี้ 

ก.       กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย 

ข.       กรณีคลอดบุตร 

ค.       กรณีชราภาพ  

ง.       ถูกทุกข้อ 

2.     สำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน ตั้งอยู่ในจังหวัดใด 

ก.       กรุงเทพมหานคร 

ข.       ปทุมธานี 

ค.       สมุทรปราการ 

ง.       นนทบุรี 

3.     ข้อใดคือนโยบายของกระทรวงแรงงาน 

ก.       การดำเนินการเพื่อให้แรงงานมีรายได้ขั้นต่ำวันละ  300  บาท 

ข.       การคุ้มครองแรงงานตามกฎหมายและส่งเสริมหลักประกันความมั่นคงในการทำงาน 

ค.       พัฒนาระบบประกันสังคม

ง.       ถูกทุกข้อ 

4.     ใครคือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานคนปัจจุบัน 

ก.       นายเผดิมชัย   สะสมทรัพย์                                        . นายอนุสรณ์  ไกรวัตนุส

ค.   นายสมเกียรติ   ฉายะศรีวงศ์                                       ง. นายวิสา   คัญทัพ

5.     ใครคือปลัดกระทรวงแรงงานคนปัจจุบัน 

ก.     นายนคร  ศิลปอาชา                                                   . นายสมเกียรติ   บุญทอง 

 ค.  นายสมเกียรติ   ฉายะศรีวงศ์                                       ง. นายประวิทย์   เคียงผล 

6.     บุคคลใดต่ไปนี้ไม่ใช่ผู้บริหารสำนักงานประกันสังคมในปัจจุบัน 

ก.       นายอำพล สิงหโกวินทร์                                           . นายจำลอง ศรีประสาธน์

 ค.    นายสมชาย วัฒนา                                                       ง. นายสมชาติ  ศรีดารา 

7.     หลักเกณฑ์และเงื่อนไขแห่งสิทธิในการรับประโยชน์ทดแทนของบุคคลซึ่งสมัครเป็นผู้ประกันตน พศ.2554 ให้ยึดตามมาตราใด

ก.       มาตรา 40                                                       ข. มาตรา 41         

ค.   มาตรา 50                                                       ง. มาตรา 60         

8.     พระราชบัญญัติประกันสังคม ฉบับปัจจุบันป็นฉบับที่เท่าใด 

ก.       ฉบับที่ 2                                       ข. ฉบับที่ 3                           

ค.  ฉบับที่ 4                                          ง. ฉบับที่ 5           

9.     รัฐมนตรีว่าการคนแรกของกระทรวงแรงงานคือใคร 

ก.      พลเอกชวลิต   ยงใจยุทธ                                           ข. นายชวน  หลีกภัย

ค.   นายเผดิมชัย   สะสมทรัพย์                                        ง.  นายบรรหาร  ศิลปะอาชา

10.  ข้อพิพาทแรงงานเกิดขึ้นในกรณีใด 

ก.       ไม่มีการเจรจากันภายในกำหนด 

ข.       มีการเจรจากันแต่ตกลงกันไม่ได้ว่าด้วยเหตุใด 

ค.       ฝ่ายแจ้งข้อเรียกร้องไม่ประสงค์ที่จะเจรจาต่อไป 

ง.       ถูกทุกข้อ 

11.  ในกรณีที่ไม่มีการเจรจากันภายในกำหนดหรือมีการเจรจากันแล้วแต่ตกลงกันไม่ได้ว่าด้วยเหตุใดให้ฝ่ายแจ้งข้อเรียกร้องแจ้งเป็นหนังสือให้พนักงานประนอมข้อข้อพิพาทแรงงานทราบภายในระยะเวลาเท่าใด 

ก.      48  ชั่วโมง                                                                   ข.  24   ชั่วโมง

ค.   3  วัน                                                                              ง.   7  วัน

12.  เมื่อพนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานได้รับแจ้งข้อพิพาทแรงงาน ให้พนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานดำเนินการไกล่เกลี่ยเพื่อให้ฝ่ายแจ้งข้อเรียกร้องและฝ่ายรับข้อเรียกร้องตกลงกันภายในกำหนดกี่วันนับแต่วันที่พนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานได้รับหนังสือแจ้ง 

ก.      5  วัน                                                                             ข.  3  วัน

ค.   10  วัน                                                                            ง.  7  วัน 

13.  ในกรณีที่นายจ้างและลูกจ้างเกิดข้อพิพาทกันและตกลงกันได้ฝ่ายนายจ้างและฝ่ายลูกจ้างต้องทำอย่างไร 

ก.       ทำข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้เข้าร่วมในการเจรจาของทั้งสองฝ่าย 

ข.       ทำข้อตกลงกันโดยวาจาและมีพยานของทั้งสองฝ่ายในการเจรจา 

ค.       นายจ้างต้องนำข้อตกลงไปประกาศให้ลูกจ้างซึ่งเกี่ยวข้องกับข้อเรียกร้องทราบ 

ง.       ถูกทั้ง     และ   

14.  จากข้อ  14 นายจ้างต้องนำข้อตกลงไปประกาศให้ลูกจ้างซึ่งเกี่ยวข้องกับข้อเรียกร้องทราบ 

โดยเริ่มประกาศภายในกี่วัน และปิดประกาศไว้เป็นเวลากี่วัน

ก.       ประกาศภายใน  1 วัน และ  ปิดประกาศไว้เป็นเวลา 30 วัน 

ข.      ประกาศภายใน   2 วัน และ  ปิดประกาศไว้เป็นเวลา 30 วัน 

ค.      ประกาศภายใน   3 วัน และ  ปิดประกาศไว้เป็นเวลา 60 วัน 

ง.      ประกาศภายใน   3 วัน และ  ปิดประกาศไว้เป็นเวลา 30 วัน 

15.  จากข้อ  15  นายจ้างมีหน้าที่ต้องนำข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างนั้นไปจดทะเบียนต่อใคร 

ก.      อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน 

ข.      ปลัดกระทรวงแรงงาน 

ค.      อธิบดีกรมการจัดหางาน 

ง.      รองปลัดกระทรวงแรงงาน 

16.  จากข้อ 16 นายจ้างต้องนำข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างนั้นไปจดทะเบียนภายในเวลากี่วัน 

ก.       15  วัน                                                                          ข. 30  วัน

ค.   45  วัน                                                                            ง.  60  วัน 

17.  ในกรณีที่ไม่สามารถตกลงกันได้ภายใน 5 วัน กฎหมายให้ถือสถานการณ์หลังจากกี่วัน ว่ามี "ข้อพิพาทแรงงานที่ตกลงกันไม่ได้" เกิดขึ้น 

ก.       1  วัน                                                                             ข.  5  วัน 

ค.   4  วัน                                                                              ง.   6  วัน 

18.  เมื่อมีข้อพิพาทแรงงานที่ตกลงกันไม่ได้เกิดขึ้นจะมีขั้นตอนที่ดำเนินการต่อไปตามข้อใด 

ก.      ตามประเภทงานของลูกจ้าง                                     ข. ตามประเภทกิจการของนายจ้าง 

ค.   ถูกทั้ง    และ                                                            ง. ไม่มีข้อถูก 

19.  ในกรณีถ้ากิจการของนายจ้างเป็นกิจการสำคัญต้องดำเนินการระงับข้อพิพาทแรงงานต่อไปตามขั้นตอนที่กำหนดแต่ต้องไม่ปฏิบัติอย่างไร 

ก.       นายจ้างจะปิดงานไม่ได้                                            ข. ลูกจ้างจะนัดหยุดงานไม่ได้ 

ค.   นายจ้างและลูกจ้างหยุดงานชั่วคราว                       ง.  ถูกทั้ง  ก และ   

 

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   0934903924
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 
ดดด
จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   0934903924
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดนครพนม 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดสกลนคร 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดมุกดาหาร 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดอุบลราชธานี 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดหนองคาย 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดอำนาจเจริญ 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดหนองบัวลำภู 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดศรีสะเกษ 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดอุดรธานี 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดยโสธร 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดเลย 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดกาฬสินธุ์ 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดร้อยเอ็ด 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดมหาสารคาม 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดสุรินทร์ 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดขอนแก่น 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดบุรีรัมย์ 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดเพชรบูรณ์ 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดชัยภูมิ 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดนครราชสีมา 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดเชียงใหม่ 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัด-เชียงราย 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดแม่ฮ่องสอน 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดพะเยา 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดลำพูน 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดน่าน 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดลำปาง 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดแพร่ 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดอุตรดิตถ์ 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดตาก 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดพิษณุโลก 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดกำแพงเพชร 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดพิจิตร 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดนครสวรรค์ 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดอุทัยธานี 

แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดชัยนาท 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดลพบุรี 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดสิงห์บุรี 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดปราจีนบุรี 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดสระบุรี 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดนครนายก 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดอ่างทอง 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดราชบุรี 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดสุพรรณบุรี 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดอยุธยา 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดสมุทรสงคราม 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดสมุทรสาคร 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดสระแก้ว 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดตราด 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดจันทบุรี 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดระยอง 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดชลบุรี 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดฉะเชิงเทรา 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดเพชรบุรี 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดชุมพร 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดระนอง 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดนครศรีธรรมราช 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดพังงา 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดกระบี่ 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดตรัง 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดพัทลุง 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดภูเก็ต 
แนวข้อสอบนักวิชาการแรงงาน สำนักงานประกันสังคม จังหวัดสงขลา 

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   0934903924
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

แนวข้อสอบกฎหมายประกันสังคม

 

1.       กฎหมายประกันสังคม  เป็นกฎหมายที่มีลักษณะอย่างไร

ก.       เป็นกฎหมายที่กำหนดการให้หลักประกันแก่บุคคลในสังคมที่มีปัญหาเนื่องจากการประสบเคราะห์ภัย

ข.       เป็นกฎหมายที่กำหนดการให้หลักประกันแก่บุคคลที่มีเหตุการณ์อันทำให้เกิดปัญหาในการดำรงชีพ ซึ่งต้องการได้รับความช่วยเหลือ

ค.       เป็นกฎหมายที่ให้ความคุ้มครองเฉพาะแก่บุคคลโดยการรวบรวมเงินเข้าเป็นกองทุนและจ่ายเงินช่วยเหลือ

ง.       ถูกทุกข้อ

ตอบ   ง. ถูกทุกข้อ

2.       ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับลูกจ้างซึ่งมีฐานะเป็นผู้ประกันตน

ก.       บุคคลที่สมัครเข้าทำงานในสถานประกอบกิจการที่มีลูกจ้างรวมกันตั้งแต่ 10 คนขึ้นไป

ข.       บุคคลที่สมัครเข้าทำงานในสถานประกอบกิจการที่มีลูกจ้างรวมกันตั้งแต่ 15 คนขึ้นไป

ค.       บุคคลที่สมัครเข้าทำงานในสถานประกอบกิจการที่มีลูกจ้างรวมกันตั้งแต่ 20 คนขึ้นไป

ง.       บุคคลที่สมัครเข้าทำงานในสถานประกอบกิจการที่มีลูกจ้างรวมกันตั้งแต่กี่คนขึ้นไปก็ได้

ตอบ  ค. บุคคลที่สมัครเข้าทำงานในสถานประกอบกิจการที่มีลูกจ้างรวมกันตั้งแต่ 20 คนขึ้นไป

3.       เมื่อพ้นสภาพการเป็นลูกจ้าง ลูกจ้างยังคงมีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทนในการรับบริการทางการแพทย์ต่อไปได้อีกกี่เดือน  นับจากวันสิ้นสภาพการเป็นลูกจ้าง

ก.       3  เดือน                                                                          ค. 8  เดือน

ข.       6 เดือน                                                                           ง. 10 เดือน

ตอบ   ข. 6 เดือน 

4.       กฎหมายประกันสังคมไม่ใช้บังคับแก่ใคร

ก.    ข้าราชการ และลูกจ้างประจำของหน่วยราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่น

ข.    ลูกจ้างของรัฐบาลต่างประเทศหรือองค์การระหว่างประเทศ

ค.    ลูกจ้างงานบ้านอันมิได้มีการประกอบธุรกิจรวมอยู่ด้วย

ง.     ถูกทุกข้อ

ตอบ  ง. ถูกทุกข้อ

 

5.       ลูกจ้างจะไม่เป็นผู้ประกันตนอีกต่อไปในกรณีใด

ก.       ตาย                                                                                 ค. ลาออก

ข.       สิ้นสภาพการเป็นลูกจ้าง                                            ง.  ถูกทั้ง    และ 

ตอบ   ง.  ถูกทั้ง    และ 

6.       ข้อใดคือหน้าที่ของนายจ้าง

ก.       ยื่นแบบรายการแสดงรายชื่อลูกจ้าง อัตราค่าจ้าง

ข.       จ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคมร่วมกับผู้ประกันตนหรือลูกจ้างและรัฐบาลฝ่ายละเท่าๆกัน

ค.       หักค่าจ้างของผู้ประกันตนที่เป็นลูกจ้างตามจำนวนที่จะต้องเป็นเงินสมทบ

ง.       ถูกทุกข้อ

ตอบ  ง. ถูกทุกข้อ

7.       นายจ้างต้องจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคมสำหรับการประกันกรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยนอกงาน คลอดบุตร ทุพพลภาพ และตาย ไม่เกินร้อยละเท่าใด  ของค่าจ้าง

ก.       ร้อยละ 1                                                                        ค. ร้อยละ  3

ข.       ร้อยละ 1.5                                                                     ง. ร้อยละ  5

ตอบ   ข. ร้อยละ 1.5           

8.       นายจ้างต้องจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคมสำหรับการประกันกรณีสงเคราะห์บุตรและชราภาพ ไม่เกินร้อยละเท่าใด  ของค่าจ้าง

ก.       ร้อยละ 1                                                                        ค. ร้อยละ  3

ข.       ร้อยละ 1.5                                                                     ง. ร้อยละ  5

ตอบ   ค. ร้อยละ  3

9.       นายจ้างต้องจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคมสำหรับกรณีประกันการว่างงาน ไม่เกินร้อยละเท่าใด  ของค่าจ้าง

ก.       ร้อยละ 1                                                                        ค. ร้อยละ  3

ข.       ร้อยละ 1.5                                                                     ง. ร้อยละ  5

ตอบ   ง. ร้อยละ  5

 

10.    นายจ้างจะต้องหักค่าจ้างของผู้ประกันตนที่เป็นลูกจ้างตามจำนวนที่จะต้องเป็นเงินสมทบในส่วนของลูกจ้างและนำส่งสำนักงานประกันสังคมภายในวันที่เท่าใด ของเดือนถัดจากเดือนที่มีการหักเงินสมทบ

ก.      1                                                                                     ค. 30

ข.     15                                                                                   ง.  10

ตอบ   ข. 15

11.    ข้อใดหมายถึง   เงินสมทบ

ก.     เงินที่นายจ้างจ่ายสมทบเข้ากองทุนประกันสังคม

ข.     เงินที่ลูกจ้างจ่ายสมทบเข้ากองทุนประกันสังคม

ค.     เงินที่รัฐบาลจ่ายสมทบเข้ากองทุนประกันสังคม

ง.      เงินที่นายจ้าง ลูกจ้าง และรัฐบาล หรือเงินที่ผู้ประกันตนและรัฐบาลร่วมกันจ่ายสมทบเข้ากองทุนประกันสังคม

ตอบ  ง.  เงินที่นายจ้าง ลูกจ้าง และรัฐบาล หรือเงินที่ผู้ประกันตนและรัฐบาลร่วมกันจ่ายสมทบเข้ากองทุนประกันสังคม

12.    ประโยชน์ทดแทน หมายถึง

ก.       ความช่วยเหลือที่ให้แก่นายจ้าง เมื่อนายจ้างประสบเคราะห์ภัยหรือเดือดร้อน

ข.       ความช่วยเหลือที่ให้แก่ประชาชนทั่วไปเมื่อประสบเคราะห์ภัยหรือเดือดร้อน

ค.       ความช่วยเหลือที่ให้แก่ผู้ประกันตน หรือผู้มีสิทธิ เมื่อผู้ประกันตนประสบเคราะห์ภัยหรือเดือดร้อน

ง.       ไม่มีข้อถูก

ตอบ  ค. ความช่วยเหลือที่ให้แก่ผู้ประกันตน หรือผู้มีสิทธิ เมื่อผู้ประกันตนประสบเคราะห์ภัยหรือเดือดร้อน

13.    รูปแบบของประโยชน์ทดแทนมีกี่รูปแบบ

ก.     รูปแบบเดียว                                                                 ค.  3  รูปแบบ

ข.     2  รูปแบบ                                                                      ง.  4  รูปแบบ

ตอบ   ง.  4  รูปแบบ

 

 

14.    การได้รับประโยชน์ทดแทนในกรณี สงเคราะห์บุตร ผู้ประกันตนต้องจ่ายเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่ากี่ปี

ก.       1  ปี                                                                                 ค.  3  ปี

ข.       2  ปี                                                                                 ง.  4  ปี

ตอบ   ก. 1  ปี       

15.    การได้รับประโยชน์ทดแทนในกรณี ชราภาพ ผู้ประกันตนต้องจ่ายเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า              กี่ปี  ไม่ว่าระยะเวลานั้นจะติดต่อกันหรือไม่

ก.       5  ปี                                                                                 ค.  10  ปี

ข.       15  ปี                                                                              ง.   20  ปี

ตอบ   ข. 15  ปี

ข้อเสนอของคณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทย ในการคุ้มครองสิทธิแรงงานนอกระบบ
ด้วยความเติบโตของระบบเศรษฐกิจในทุกวันนี้ เป็นผลมาจากการสร้างสรรค์การผลิตของผู้ใช้แรงงานในระบบและนอกระบบ ซึ่งในประเทศไทยแรงงานนอกระบบประกอบด้วยแรงงานในภาคเกษตร ผู้ผลิตเพื่อขาย ผู้รับงานไปทำที่บ้าน ผู้ใช้แรงงานในภาคบริการต่างๆ หาบเร่แผงลอย และผู้ประกอบอาชีพอิสระอื่นๆ มีจำนวนรวมมากกว่า 20 ล้านคน แรงงานนอกระบบในประเทศไทยต้องเผชิญกับการถูกละเมิดสิทธิขั้นพื้นฐานของแรงงานในหลายประการ อันได้แก่ งานที่ทำขาดความมั่นคง ไม่ได้รับค่าตอบแทนที่เป็นธรรม งานที่ทำมีความเสี่ยงสูง และมีอันตรายต่อสุขภาพ อีกทั้งเข้าไม่ถึงการบริการทางด้านสาธารณสุขของสำนักงานประกันสังคม และบริการอื่นๆของรัฐ และที่สำคัญไม่สามารถใช้สิทธิในการรวมตัวต่อรองได้ ทั้งนี้ก็เนื่องมาจากพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 ไม่ได้ให้ความคุ้มครองครอบคลุมแรงงานนอกระบบ ในขณะเดียวกันก็ไม่ได้มีกฎหมายเฉพาะที่จะคุ้มครองแรงงานนอกระบบอย่างเหมาะสมและเพียงพอ ซึ่งสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นสามารถแยกออกเป็นกรณีต่างๆ ของเจ้าของปัญหาได้แก่
กรณี “ผู้รับงานไปทำที่บ้าน”
เนื่องจากกฎกระทรวงว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน ในงานรับไปทำที่บ้าน พ.ศ.2547 มีข้อจำกัดหลายประการ ได้แก่
1. การคุ้มครองค่าแรงขั้นต่ำของผู้รับงานไปทำที่บ้าน
2. การไม่คุ้มครองต้นทุนการผลิต ในส่วนของผู้รับงานไปทำที่บ้าน เช่น สถานที่ เครื่องจักร เครื่องมือ ค่าไฟฟ้า ค่าขนส่ง ฯลฯ
3. การไม่สามารถใช้สิทธิทางกฎหมายต่อผู้ว่าจ้างหรือเจ้าของงานที่แท้จริงได้
4. การที่กระทรวงแรงงานไม่บังคับใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ แม้จะประกาศในราชกิจจานุเบกษามานานกว่า 2 ปี แล้ว

ข้อเสนอ “การคุ้มครองผู้รับงานไปทำที่บ้าน”
1. ให้กระทรวงแรงงานจัดตั้งคณะทำงานร่วม ซึ่งมีองค์ประกอบของผู้รับงานไปทำที่บ้าน นักกฎหมายแรงงาน นักวิชาการ องค์กรพัฒนาเอกชน และนำเอาร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมคุ้มครองและพัฒนาแรงงานในงานรับไปทำที่บ้าน พ.ศ.... ซึ่งเป็นร่างฉบับผู้ใช้แรงงานจัดทำขึ้น มาบูรณาการกับร่างกฎหมายฉบับกระทรวงแรงงาน
2. ให้กระทรวงแรงงานมีการจัดกระบวนการประชาพิจารณ์ เพื่อให้ผู้รับงานไปทำที่บ้าน และประชาชนทั่วไปได้มีส่วนร่วมอย่างแท้จริง ก่อนที่จะนำเสนอเข้าสู่ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี
กรณี “แรงงานเกษตรในระบบพันธะสัญญา”
แรงงานเกษตรในระบบพันธะสัญญา เป็นแรงงานนอกระบบกลุ่มใหญ่ที่ขาดการคุ้มครองในฐานะที่เป็นแรงงาน บริษัทผู้จ้างงานได้ใช้ประโยชน์จากช่องว่างของพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 และกฎหมายเกี่ยวกับแรงงานฉบับอื่นๆ และสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบริษัทกับเกษตรกร ในรูปแบบของการซื้อขายหรือการจ้างทำของ หรือสัญญาอื่นๆแทน ทำให้แรงงานเกษตรในระบบพันธะสัญญาถูกละเมิดและเข้าไม่ถึงสิทธิแรงงานขั้นพื้นฐานใดๆเลย
ข้อเสนอ “การคุ้มครองแรงงานเกษตรในระบบพันธะสัญญา”
1. ให้กระทรวงแรงงานจัดทำการศึกษา เพื่อทำความเข้าใจต่อปัญหาของการถูกละเมิดสิทธิแรงงานของเกษตรพันธะสัญญา และศึกษาเพื่อหาความเป็นไปได้ในการออกกฎหมายคุ้มครองสิทธิแรงงานเกษตรในระบบพันธะสัญญา
2. ให้กระทรวงแรงงานจัดตั้งคณะทำงานร่วม ซึ่งมีองค์ประกอบของแรงงานภาคเกษตร นักกฎหมายแรงงาน นักวิชาการ องค์กรพัฒนาเอกชน ยกร่างกฎหมายเพื่อการคุ้มครองแรงงานเกษตรในระบบพันธสัญญา
กรณี “การคุ้มครองประกันสังคมสู่แรงงานนอกระบบ”
ตั้งแต่ปี 2548 เป็นต้นมา สำนักงานประกันสังคมมีการเตรียมการที่จะขยายความคุ้มครองประกันสังคมสู่แรงงานที่อยู่นอกระบบประกันสังคม และได้มีการตั้งอนุกรรมการขึ้นมา  2 ชุด คือ คณะอนุกรรมการศึกษาความเป็นไปได้ในการขยายการคุ้มครองประกันสังคมสู่แรงงานนอกระบบ และคณะอนุกรรมการยกร่างการขยายความคุ้มครองประกันสังคมสู่แรงงานนอกระบบ ซึ่งคณะกรรมการได้มีการดำเนินงานมาถึงขั้นยกร่างชุดสิทธิประโยชน์และอัตราการจ่ายเงินสมทบของแรงงานนอกระบบที่จะเข้าสู่กองทุน โดยรับฟังความคิดเห็นบางส่วนจากเครือข่ายแรงงานนอกระบบ แต่ด้วยปัจจัยหลายประการก็ยังไม่มีความคืบหน้าไปมากกว่านั้น
ข้อเสนอกรณี “การคุ้มครองประกันสังคมสู่แรงงานนอกระบบ”
1. ต้องมีหลักการในการเฉลี่ยทุกข์ เฉลี่ยสุข แรงงานนอกระบบทุกกลุ่มอาชีพ ทุกคนให้เข้าสู่กองทุน มีการจ่ายเงินสมทบตามฐานของรายได้ และได้รับการดูแลเมื่อประสบความยากลำบากในการดำเนินชีวิต
2. รัฐและผู้ว่าจ้าง / เจ้าของงาน ต้องร่วมรับผิดชอบจ่ายเงินสมทบเข้าสู่กองทุน
3. ต้องอยู่บนหลักการความเสมอภาคเท่าเทียม และไม่เลือกปฏิบัติต่อแรงงาน นั่นคือแรงงานนอกระบบจะต้องได้รับสิทธิประโยชน์คุ้มครองที่เท่าเทียมกันกับประกันสังคมของแรงงานในระบบ คือ 7 กรณี ได้แก่ เจ็บป่วย คลอดบุตร ทุพลภาพ สงเคราะห์บุตร ตาย ชราภาพ และว่างงาน รวมทั้งกรณีของอุบัติเหตุและการเจ็บป่วยอันเนื่องมาจากการทำงานซึ่งแรงงานนอกระบบจะต้องได้รับการคุ้มครองจากกองทุนเงินทดแทน และการเก็บเงินสมทบจากแรงงานนอกระบบต้องอยู่ในอัตราไม่เกินร้อยละ 5 ของรายได้
4. สำนักงานประกันสังคมต้องออกแบบการบริหารกองทุน ที่จะจัดตั้งขึ้นนี้ โดยเน้นการมีส่วนร่วมของแรงงานนอกระบบ ในฐานะที่ร่วมเป็นเจ้าของเงินกองทุน
5. สำนักงานประกันสังคม กระทรวงการคลัง และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ต้องให้การสนับสนุนการจัดระบบสวัสดิการของชุมชน ในฐานะที่เป็นหลักประกันทางสังคมอีกประการหนึ่งของแรงงานนอกระบบ และประชาชน
กรณี “หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและการบริการสาธารณสุข ในระดับปฐมภูมิ กับการบริการด้านสุขภาพความปลอดภัยของแรงงานนอกระบบ”
เนื่องจากแรงงานนอกระบบถูกระบุเป็น 1 ใน 8 ของเครือข่ายภาคประชาชน ที่มีฐานะเป็นทั้งกลุ่มเป้าหมายและภาคีการมีส่วนร่วมของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) แม้ในปัจจุบัน สปสช. จะมีการดำเนินการและความพยายามในบางส่วน เพื่อการดูแลสุขภาพและความปลอดภัยของแรงงานนอกระบบบ้างแล้ว แต่ส่วนใหญ่ยังอยู่ในรูปของโครงการนำร่อง โครงการทดลอง
ข้อเสนอกรณี “หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและการบริการสาธารณสุข ในระดับปฐมภูมิ กับการบริการด้านสุขภาพความปลอดภัยของแรงงานนอกระบบ”
1. ให้สถานีอนามัยและหน่วยบริการสาธารณสุขระดับปฐมภูมิ (PCU) มีการทำงานด้านอาชีว อนามัย : ระบบฐานข้อมูลกลุ่มอาชีพ/ความเจ็บป่วยจากการทำงานและการให้บริการกลุ่มแรงงานนอกระบบ
2. ให้ สปสช. เพิ่มงานอาชีวอนามัยในเกณฑ์มาตรฐานของ PCU เพื่อที่งานด้านอาชีวอนามัยและการให้บริการแก่กลุ่มแรงงานนอกระบบจะมีฐานะที่เป็นงานปกติของ PCU
3. ให้ สปสช. จัดให้มีการตรวจสุขภาพตามความเสี่ยงแก่แรงงานนอกระบบประจำปี และมีการจัดทำสมุดบันทึกสุขภาพของแรงงานนอกระบบ และให้กองทุนส่งเสริมสุขภาพของ อบต. ที่ สปสช. ให้การสนับสนุนมีการทำงานด้านอาชีวอนามัยของกลุ่มแรงงานนอกระบบ
4. ให้ สปสช. สนับสนุนการดำเนินงานของศูนย์ประสานงานภาคประชาชน ในประเด็นเกี่ยวกับแรงงานนอกระบบ
กรณี “นโยบายท้องถิ่นกับการสนับสนุน ส่งเสริม พัฒนาและคุ้มครองแรงงานนอกระบบ”
เนื่องจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อันได้แก่ เทศบาล อบต. นับว่าเป็นหน่วยงานที่มีความใกล้ชิดกับประชาชนมากที่สุด และนับวันจะมีบทบาทเพิ่มขึ้นในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน จึงควรมีส่วนร่วมในการส่งเสริมและพัฒนากระบวนการคุ้มครองแรงงานนอกระบบ
ข้อเสนอกรณี “นโยบายท้องถิ่นกับการสนับสนุน ส่งเสริม พัฒนาและคุ้มครองแรงงานนอกระบบ”
1. ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการบูรณาการส่งเสริม พัฒนา และคุ้มครองแรงงานนอกระบบ เข้ามาอยู่ในแผนงาน แผนงบประมาณ และการข้อบัญญัติท้องถิ่น
2. ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีบทบาทแทนหน่วยงานภาครัฐ ที่ไม่มีสำนักงานในระดับท้องถิ่น เช่น ทำหน้าที่เป็นพนักงานตรวจแรงงาน แทนสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด ทำหน้าที่เก็บเงินสมทบ และจ่ายเงินตามสิทธิประโยชน์คุ้มครองแก่แรงงานนอกระบบ

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   0934903924
รายละเอียดไฟล์แนบ
กล่องตอบกลับด่วน

กรุณาใช้ข้อความที่สุภาพ คุณสามารถบันทึกฉบับร่างได้
กด "Ctrl+Enter" เพื่อตั้งกระทู้ได้