ประยุกต์ใช้ โพสล่าสุด โพสสำคัญ เครื่องมือ สมาชิก สถิติฟอรั่ม ธนาคาร
หัวข้อ : แนวข้อสอบนิติกร กรมราชทัณฑ์
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

แนวข้อสอบนิติกร กรมราชทัณฑ์

1.Roman\"">       ข้าราชการกรมราชทัณฑ์ตามข้อใด  เมื่อกระทำผิดวินัยไม่ต้องรับโทษทางวินัยตามพระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์  พุทธศักราช  2482 
ก.  นายวินัย  มากมี  สังกัดกองการเจ้าหน้าที่  ได้รับคำสั่งให้ไปปฏิบัติหน้าที่เรือนจำกลางคลองเปรม
ข.  นายสมพร  น้อยยา  สังกัดเรือนจำกลางบางขวาง  ได้รับคำสั่งให้ปฏิบัติหน้าที่  กองคลัง  กรมราชทัณฑ์
ค.  นายสมหมาย  เงินดี  สังกัดทัณฑสถานเปิดบ้านนาวง
ง.  นางมาลี  แก้วขาว  สังกัดสถานที่กักกันกลางนครปฐม

2.       พระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์  มีผลบังคับใช้ตั้งแต่  วัน  เดือน พ.ศ. ใด
ก.  วันที่ 
26  ตุลาคม  พ.ศ.  2482                                        ข.  วันที่  17  ตุลาคม  พ.ศ.  2482
ค.  วันที่ 
4  สิงหาคม  พ.ศ.  2482                                       ง.  วันที่  23  พฤศจิกายน  พ.ศ.  2482

3.       พระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์  พุทธศักราช  2482  บัญญัติว่าข้าราชการกรมราชทัณฑ์จะต้องปฏิบัติตามวินัยตามที่บัญญัติไว้ในมาตราใดของพระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์
ก.  มาตรา 
6,7  และมาตรา 6                                               ข.  มาตรา  6,7,8  และมาตรา 9
ค.  มาตรา 
7,8  และมาตรา 9                                               ง.  มาตรา  8,9  และมาตรา 10

4.       โทษทางวินัยตามพระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์มีกี่สถาน  และมีสถานใดบ้าง
ก.  มี
3 สถาน  คือ  ภาคทัณฑ์  เพิ่มเวรยาม  กักบริเวณ
ข.  มี 
3  สถาน  คือ  ขัง กักบริเวณ  เพิ่มเวรยาม
ค.  มี 
4  สถาน  คือ  ภาคทัณฑ์  ขัง  กักบริเวณ  เพิ่มเวรยาม
ง.  มี 
4  สถาน คือ  ทำทัณฑ์บน  ขัง  กักบริเวณ  เพิ่มเวรยาม

5.       ข้าราชการกรมราชทัณฑ์ ต้องปฏิบัติตามวินัยที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์  แบ่งออกเป็นกี่ประเภท  และมีประเภทใดบ้าง
ก.  แบ่งเป็น
2 ประเภท  คือ วินัยเพื่อการปฏิบัติหน้าที่ของตน  และวินัยที่เกี่ยวกับผู้ต้องขัง
ข.  แบ่งเป็น
2 ประเภท  คือ  วินัยเพื่อการปฏิบัติหน้าที่ของตน  และวินัยที่เกี่ยวกับญาติของผู้ต้องขัง
ค.  แบ่งเป็น
3 ประเภท  คือ  วินัยของตนเอง  วินัยที่เกี่ยวผู้ต้องขัง  และวินัยที่เกี่ยวกับผู้ต้องขัง
ง.  แบ่งเป็น
4 ประเภท  คือ  วินัยต่อตนเอง  วินัยต่อผู้ต้องขัง  และวินัยที่เกี่ยวกับญาติของผู้ต้องขัง  และวินัยต่อผู้บังคับบัญชา

6.       ความในข้อใด  ไม่ใช่วินัยเพื่อการปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปด้วยดี  ตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์  พุทธศักราช  2482
ก.  ต้องสอบสวนและลงโทษเมื่อผู้ต้องขังกระทำผิด    
ข.  ไม่ปิดบังความผิดของเจ้าพนักงานและผู้ต้องขัง
ค.  แสดงความเมตตากรุณาแก่ผู้ต้องขัง                            
ง.  ไม่เสพสุราในเวลาปฏิบัติราชการ

7.       ความในข้อใด  ไม่ใช่วินัยในการเกี่ยวข้องกับผู้ต้องขัง  ตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์  พุทธศักราช  2482
ก.  ไม่กล่าวเท็จยั่วเย้า  หรือทะเลาะกับผู้ต้องขัง
ข.  ต้องประพฤติตนให้เป็นตัวอย่างอันดีงามแก่ผู้ต้องขัง
ค.  ไม่รับทรัพย์สินจากญาติมิตรของผู้ต้องขัง
ง.  ต้องสอบสวนและลงโทษเมื่อผู้ต้องขังกระทำผิด

8.       ตามพระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์  พุทธศักราช 2482  โทษตามข้อใด  มีกำหนดโทษเบาที่สุด
ก.  ภาคทัณฑ์                                                                          ข.  กักบริเวณ
ค.  เพิ่มเวรยาม                                                                       ง.  ขัง

9.       พระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์  พุทธศักราช 2482  รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมมีอำนาจลงโทษ “ขัง”  พัศดี ไม่เกินกำหนดเท่าใด
ก.  ขังไม่เกิน
10 วัน                                                              ข.  ขังไม่เกิน 15 วัน
ค.  ขังไม่เกิน
20 วัน                                                              ง.  ไม่มีอำนาจในการขังพัศดี

10.   ตามพระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์  พุทธศักราช 2482  รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมมีอำนาจลงโทษ “กักบริเวณ”  พัศดี ไม่เกินกำหนดเท่าใด
ก.  กักบริเวณไม่เกิน 
15  วัน                                               ข.  กักบริเวณไม่เกิน  20  วัน
ค.  กักบริเวณไม่เกิน 
30  วัน                                               ง.  ไม่มีอำนาจกักบริเวณพัศดี

11.   ตามพระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์  พุทธศักราช 2482  รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมมีอำนาจลงโทษ “เพิ่มเวรยาม”  พัศดีไม่เกินกำหนดเท่าใด
ก.  เพิ่มเวรยามไม่เกิน 
20  วัน                                             ข.  เพิ่มเวรยามไม่เกิน  30  วัน
ค.  เพิ่มเวรยามไม่เกิน 
45  วัน                                             ง.  เพิ่มเวรยามไม่เกิน  25  วัน

12.   ตามพระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์  พุทธศักราช 2482   รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมมีอำนาจลงโทษ “ขัง”  ผู้คุม  ไม่เกินกำหนดเท่าใด
ก.  ขังไม่เกิน 
10  วัน                                                            ข.  ขังไม่เกิน  15  วัน
ค.  ขังไม่เกิน 
20  วัน                                                            ง.  ขังไม่เกิน  25  วัน

13.   ตามพระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์  พุทธศักราช 2482  รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมมีอำนาจลงโทษ “เพิ่มเวรยาม” ผู้คุม  ไม่เกินกำหนดเท่าใด
ก.  เพิ่มเวรยามไม่เกิน 
45 วัน                                              ข.  เพิ่มเวรยามไม่เกิน  30 วัน
ค.  เพิ่มเวรยามไม่เกิน 
20 วัน                                              ง.  เพิ่มเวรยามไม่เกิน  10 วัน

14.   ตามพระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์  พุทธศักราช 2482   รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมมีอำนาจลงโทษ “กักบริเวณ” ผู้คุม  ไม่เกินกำหนดเท่าใด
ก.  กักบริเวณไม่เกิน 
20  วัน                                               ข.  กักบริเวณไม่เกิน  30  วัน
ค.  กักบริเวณไม่เกิน 
40  วัน                                               ง.  กักบริเวณไม่เกิน  45  วัน

15.   ตามพระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์  พุทธศักราช 2482    อธิบดีกรมราชทัณฑ์มีอำนาจลงโทษ  “เพิ่มเวรยาม” พัศดี ไม่เกินกำหนดเท่าใด
ก.  เพิ่มเวรยามไม่เกิน
7 วัน                                                 ข.  เพิ่มเวรยามไม่เกิน 10 วัน
ค.  เพิ่มเวรยามไม่เกิน
15 วัน                                               ง.  เพิ่มเวรยามไม่เกิน 20 วัน

16.   ตามพระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์  พุทธศักราช 2482   อธิบดีกรมราชทัณฑ์มีอำนาจลงโทษ “กักบริเวณ”  พัศดีไม่เกินกำหนดเท่าใด
ก.  กักบริเวณไม่เกิน
15 วัน                                                 ข.  กักบริเวณไม่เกิน 20 วัน
ค.  กักบริเวณไม่เกิน
30 วัน                                                 ง.  กักบริเวณไม่เกิน 35 วัน

17.   ตามพระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์  พุทธศักราช 2482   อธิบดีกรมราชทัณฑ์มีอำนาจลงโทษ “ขัง”  ผู้คุม ไม่เกินกำหนดเท่าใด
ก.  ขังไม่เกิน
25 วัน                                                              ข.  ขังไม่เกิน 20 วัน
ค.  ขังไม่เกิน
15 วัน                                                              ง.  ขังไม่เกิน 10 วัน

18.   ตามพระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์  พุทธศักราช 2482    อธิบดีกรมราชทัณฑ์มีอำนาจลงโทษ “เพิ่มเวรยาม”  ผู้คุม ไม่เกินกำหนดเท่าใด
ก.  เพิ่มเวรยามไม่เกิน 
10  วัน                                             ข.  เพิ่มเวรยามไม่เกิน  15  วัน
ค.  เพิ่มเวรยามไม่เกิน 
20  วัน                                             ง.  เพิ่มเวรยามไม่เกิน  25  วัน

19.   ตามพระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์  พุทธศักราช 2482    อธิบดีกรมราชทัณฑ์มีอำนาจลงโทษ “กักบริเวณ”  ผู้คุม ไม่เกินกำหนดเท่าใด
ก.  กักบริเวณไม่เกิน 
10  วัน                                               ข.  กักบริเวณไม่เกิน  15  วัน
ค.  กักบริเวณไม่เกิน 
20  วัน                                               ง.  กักบริเวณไม่เกิน  30  วัน

20.   ตามพระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์  พุทธศักราช 2482  ผู้บัญชาการเรือนจำมีอำนาจลงโทษ “เพิ่มเวรยาม”  พัศดี  ไม่เกินกำหนดเท่าใด
ก.  เพิ่มเวรยามไม่เกิน
5 วัน                                                 ข.  เพิ่มเวรยามไม่เกิน 7 วัน
ค.  เพิ่มเวรยามไม่เกิน
10 วัน                                               ง.  เพิ่มเวรยามไม่เกิน 15 วัน

21.   ตามพระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์  พุทธศักราช 2482   ผู้บัญชาการเรือนจำมีอำนาจลงโทษ “กักบริเวณ”  พัศดี  ไม่เกินกำหนดเท่าใด
ก.  กักบริเวณไม่เกิน
5 วัน                                                   ข.  กักบริเวณไม่เกิน 7 วัน
ค.  กักบริเวณไม่เกิน
10 วัน                                                 ง.  กักบริเวณไม่เกิน 15 วัน

22.   ตามพระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์  พุทธศักราช 2482  ผู้บัญชาการเรือนจำมีอำนาจลงโทษ “ขัง”  ผู้คุม  ไม่เกินกำหนดเท่าใด
ก.  ขังไม่เกิน 
5  วัน                                                              ข.  ขังไม่เกิน  7  วัน
ค.  ขังไม่เกิน 
10  วัน                                                            ง.  ขังไม่เกิน  15  วัน

23.   ตามพระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์  พุทธศักราช 2482   ผู้บัญชาการเรือนจำมีอำนาจลงโทษ “เพิ่มเวรยาม”  ผู้คุม  ไม่เกินกำหนดเท่าใด
ก.  เพิ่มเวรยามไม่เกิน
20  วัน                                              ข.  เพิ่มเวรยามไม่เกิน 15  วัน
ค.  เพิ่มเวรยามไม่เกิน
10  วัน                                              ง.  เพิ่มเวรยามไม่เกิน 7  วัน

24.   ตามพระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์  พุทธศักราช 2482  ผู้บัญชาการเรือนจำมีอำนาจลงโทษ “กักบริเวณ”  ผู้คุม  ไม่เกินกำหนดเท่าใด
ก.  กักบริเวณไม่เกิน 
20  วัน                                               ข.  กักบริเวณไม่เกิน  30  วัน
ค.  กักบริเวณไม่เกิน 
15  วัน                                               ง.  กักบริเวณไม่เกิน  10  วัน

25.   ตามพระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์  พุทธศักราช 2482  สารวัตรเรือนจำมีอำนาจลงโทษ “เพิ่มเวรยาม”  พัศดี  ไม่เกินกำหนดเท่าใด
ก.  เพิ่มเวรยามไม่เกิน 
5  วัน                                               ข.  เพิ่มเวรยามไม่เกิน  7  วัน
ค.  เพิ่มเวรยามไม่เกิน 
10  วัน                                             ง.  เพิ่มเวรยามไม่เกิน  15  วัน

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบนิติกร กรมราชทัณฑ์  ใหม่ล่าสุด
รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ รวมแนวข้อสอบเก่าเด็ดๆๆ  และข้อสอบที่ออกบ่อยมาก 
ประกอบด้วย

ประวัติการราชทัณฑ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการขออภัยโทษ
แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ.2547
แนวข้อสอบ พ.ร.บ. วินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์ พ.ศ. 2482
แนวข้อสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน  พ.ศ. 2551
แนวข้อสอบ พ. ร. บ.  ราชทัณฑ์ พ.ศ. 2479 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
แนวข้อสอบกฎหมายอาญา
แนวข้อสอบกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
แนวข้อสอบ พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.2539


ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่  โทร 085-0127724 
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย  ในราคาเพียงชุดละ   399 บาท
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 ธ.กสิกรไทย

 บิ๊กซีขอนแก่น
decho pragay  ออมทรัพย์
โอนเงินแล้วแจ้งที่  decho.by@hotmail.com

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   0934903924
รายละเอียดไฟล์แนบ
กล่องตอบกลับด่วน

กรุณาใช้ข้อความที่สุภาพ คุณสามารถบันทึกฉบับร่างได้
กด "Ctrl+Enter" เพื่อตั้งกระทู้ได้