ประยุกต์ใช้ โพสล่าสุด โพสสำคัญ เครื่องมือ สมาชิก สถิติฟอรั่ม ธนาคาร
หัวข้อ : แนวข้อสอบนายช่างโยธาปฏิบัติงาน กรมการพัฒนาชุมชน
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

แนวข้อสอบนายช่างโยธาปฏิบัติงาน กรมการพัฒนาชุมชน

1. การระดับหมายถึงอะไร

ก. การปรับพื้นให้ราบ

ข. การหาพื้นที่ราบ

ค. การหาความลาดของพื้นดิน

ง. การหาความสูงต่ำของพื้นดิน

                ตอบ    ง.

2. การวัดผังอาคารขนาดใหญ่ใช้อุปกรณ์ชนิดใดในการทำระดับ

ก. เข็มทิศ

ข. โต๊ะแผนที่

ค. กล้องระดับ

ง. กล้องวัดมุม

ตอบ  ง.

3. ความสูงของแกนกล้องคำนวณ

ก. Elev. + BS.

ข. Elev. + FS.

ค. BS. + FS.

ง. Elev. + BS. + FS.

                ตอบ    ก.

 

4. การกำหนดระดับงานก่อสร้าง หมายถึงการกำหนดระดับเพื่ออะไร

ก. เพื่อวางแผนงานก่อสร้าง

ข. เพื่อออกแบบงานก่อสร้าง

ค. เพื่อทำการก่อสร้าง

ง. เพื่อตรวจสอบงานก่อสร้าง

ตอบ    ง.

5. กรณีวางท่อระบายน้ำลึก 1 - 7 เมตร จะต้องใช้คอนกรีตหุ้มหนาเท่าไร เพื่อต้านแรงดันของดิน

ก. 5 เซนติเมตร

ข. 10 เซนติเมตร

ค. 15 เซนติเมตร

ง. 20 เซนติเมตร

ตอบ    ค.

6. การตรวจสอบการทรุดตัวของอาคาร ควรใช้เครื่องมือใดในการตรวจระดับดีที่สุด

ก. สายยางใส่น้ำ

ข. ระดับมือ

ค. กล้องระดับ

ง. กล้องวัดมุม

ตอบ    ค.

7. การหาระดับการทรุดตัวของอาคารควรใช้วิธีใด

ก. การหาค่าระดับด้วยวิธี HI.

ข. หาค่าระดับด้วยวิธี Rise and Fall

ค. ตรวจสอบความต่างของระดับก่อสร้าง

ง. การใช้กล้องวัดมุมเล็งสกัด หรือใช้กล้องประกอบกับเป้า

ตอบ    ง.

8. การวัดระยะในงานก่อสร้างนิยมใช้หน่วยวัดในข้อใด

ก. ระบบอังกฤษ                   ข. ระบบเมตริก

ค. ระบบ SI Unit                  ง. ระบบหน่วยวัดของไทย

ตอบ    ค.

9. ข้อใดเป็นสาเหตุของความคลาดเคลื่อนของการวัดระยะด้วยโซ่ อันเกิดจากธรรมชาติ

ก. การดึงโซ่เกินข้อกำหนด

ข. การหย่อนตัวหรือตกท้องช้างของโซ่

ค. การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ

ง. ระยะไม่ตรงแนวสำรวจ

ตอบ    ค.

10. เหตุใดการวัดระยะด้วยโซ่ - เทป บางครั้งจึงต้องวัดเป็นขั้นบันได

ก. เพราะผู้วัดระยะมีความชำนาญ

ข. เพราะเป็นวิธีการวัดระยะแบบหนึ่ง

ค. เพราะพื้นที่ลาดเอียง

ง. เพราะต้องการระยะลาด

ตอบ    ค.

11. การปฏิบัติงานสำรวจในสนามส่วนใหญ่ใช้ทิศเหนือใด

ก. ทิศเหนือสมมุติ

ข. ทิศเหนือจริง

ค. ทิศเหนือกริด

ง. ทิศเหนือแม่เหล็ก

ตอบ    ง.

12. ข้อใดไม่เป็นอุปกรณ์เครื่องใช้ในการสำรวจด้วยเข็มทิศภาคสนาม

ก. ลูกดิ่ง

ข. ไม้บรรทัดมาตราส่วน

ค. หลักเล็งแนว

ง. ห่วงคะแนน

ตอบ    ข.

13. การอ่านกล้องวัดมุม ในมุมทำแนวดิ่งมีค่าระดับกี่องศา

ก. 60 องศา

ข. 90 องศา

ค. 180 องศา

ง. 360 องศา

ตอบ    ข.

14. การวางแนวเส้นตรงด้วยกล้องวัดมุมวิธีใดดีที่สุด

ก. การเล็งต่อแนว

ข. การเล็งด้วยกล้องหน้าเดียว

ค. การเล็งด้วยกล้องสองหน้า

ง. การเล็งด้วยกล้องสองชุด

ตอบ    ค.

15. การวางแนวเส้นตรงด้วยกล้องวัดมุมด้วยหน้าซ้ายและหน้าขวาเพื่อแก้ความคลาดเคลื่อนเรื่องใด

ก. กล้องไม่ตรงหมุด

ข. กล้องไม่ได้ระดับ

ค. ส่องกล้องไม่ตรงที่หมาย

ง. จานองศากล้องคลาดเคลื่อน

ตอบ    ง.

16. Optical Plummet ของกล้องมีไว้เพื่อประโยชน์อะไร

ก. ใช้ในการตั้งระดับ

ข. ใช้อ่านค่ามุม

ค. ใช้หาแนวทิศเหนือ

ง. ใช้ตั้งกล้องให้ตรงหมุด

ตอบ    ง.

17. การวางผังอาคารด้วยกล้องวัดมุมจะเป็น Reference Grid ซึ่งใช้ในงานอะไร

ก. วางแนวอาคาร

ข. เป็นจุดอ้างอิง

ค. การตรวจ Site

ง. งาน Control

ตอบ    ง.

18. การวางผังอาคารด้วยกล้อง ควรจะเป็นรูปเรขาคณิตอะไรดีที่สุด

ก. สามเหลี่ยม

ข. สี่เหลี่ยม

ค. ห้าเหลี่ยม

ง. รูปทรงแบบใดก็ได้

ตอบ    ข.

19. การวางผังอาคารด้วยกล้องวัดมุมตามข้อใดให้ผลงานสำรวจดีที่สุด

ก. การเล็งด้วยกล้องหน้าเดียว

ข. การเล็งด้วยกล้องสองหน้า

ค. การใช้กล้อง 2 ชุด

ง. การใช้กล้องเล็งแนว

ตอบ    ก.

20. ระยะห่างระหว่างจุดในการวางแนวเสาเข็ม ควรใช้ระยะวางแนวหลักการอะไร

ก. Structural Grid

ข. Survey Grid

ค. Site Grid

ง. งาน Control

ตอบ    ก.

21. ความคลาดเคลื่อนข้อใดที่อาจทำให้การทำระดับผิดพลาดมากที่สุด

ก. ความยาวของไม้ระดับไม่ถูกต้อง

ข. การหักเหของแสง

ค. การตั้งไม้วัดระดับไม่ได้ดิ่ง

ง. การจดสมุดสนามผิด

ตอบ    ก.

22. การให้ระดับงานก่อสร้างความอ้างอิงจากจุดใด

ก. ระดับน้ำทะเลปานกลาง

ข. ระดับ BM. ที่สมมุติ

ค. ระดับอ้างอิง 0+000 จากถนน

ง. ระดับ BM. ถ่ายระดับจากถนน

ตอบ    ง.

23. อุปกรณ์ใดที่แสดงว่ากล้องได้ระดับดีที่สุด

ก. ควงปรับระดับ

ข. ระดับอัตโนมัติ

ค. ระดับฟองยาว

ง. ระดับฟองกลม

ตอบ    ค.

24. หมุดหลักฐานการทำระดับหมายถึงหมุดอะไร

ก. หมุดที่มีความสูงเท่ากัน

ข. หมุดที่จะหาความสูง

ค. หมุดที่ใช้กล้องระดับ

ง. หมุดที่รู้ความสูงอยู่แล้ว

ตอบ    ง.

25. ข้อใดคือความหมายของคำว่าการทำระดับ

ก. การหาขนาดของพื้นที่

ข. การหาค่าข้อมูลความสูงต่ำของพื้นที่

ค. การหาค่าความลาดเอียงของพื้นที่

ง. การหาค่าความแตกต่างของพื้นที่

ตอบ    ข.

26. การทำระดับด้วยกล้องในข้อใดที่อาจเกิดความคลาดเคลื่อนได้มากที่สุด

ก. การอ่านค่าไม้วัดระดับผิด

ข. การตั้งไม้วัดระดับไม่ได้ดิ่ง

ค. การตั้งกล้องไม่ได้ระดับ

ง. การเกิดภาพเหลี่ยม

ตอบ    ก.

27. ขั้นตอนการทำระดับตามยาวข้อใดถูกต้อง

ก. วางแนว - ทำ BM.

ข. ทำ BM. - ทำระดับ - วางแนว

ค. ทำ BM. - วางแนว - ทำระดับ

ง. วางแนว - ทำระดับ- ทำ BM.

ตอบ    ค.

 

 

28. การทำระดับตามแนวเส้นขวางควรทำอย่างไร

ก. ทำถึงเส้นเขตทาง

ข. ทำเท่าที่ส่องกล้องได้

ค. ทำตามลักษณะภูมิประเทศ

ง. ทำตามดุลยพินิจของผู้ทำ

ตอบ    ค.

29. การสร้างแนวเส้นขวาง โดยทั่วไปจะทำ ณ จุดใดบนแนวเส้นศูนย์กลาง

ก. จุด Full Station

ข. จุด Plus Station

ค. จุดที่พื้นดินเปลี่ยนแปลง

ง. จุดที่เป็นทางร่วมทางแยก

ตอบ    ก.

30. แนวปฏิบัติของการกำหนดระดับงาน

ก. หมุด BM

ข. หมุด FS

ค. หมุด IFS

ง. หมุด TP

ตอบ    ค.

 

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบนายช่างโยธาปฏิบัติงาน กรมการพัฒนาชุมชน ใหม่ล่าสุด
รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ รวมแนวข้อสอบเก่าเด็ดๆๆ  และข้อสอบที่ออกบ่อยมาก  

ส่งทางอีเมล์เป็นไฟเอกสาร

ประกอบด้วย

- แนวข้อสอบความรู้เกี่ยกับการพัฒนาชุมชน

- แผนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน 2555-2559

- ข้อมูลเกี่ยวกับกรมการพัฒนาชุมชน

- สิทธิประโยชน์แสวัสดิการของข้าราชการ

- การควบคุมการก่อสร้าง

- รวมแนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ การเขียนหนังสือราช

- การบริหารงานก่อสร้าง

- แนวข้อสอบการเขียนแบบและการวิเคราะห์โครงสร้าง

- กระบวนการประมาณราคาในงานก่อสร้าง

- แนวข้อสอบคอนกรีตและโครงสร้าง

สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย  ในราคาเพียง

ชุดละ   399 บาท
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 ธ.กสิกรไทย

 บิ๊กซีขอนแก่น
decho pragay  ออมทรัพย์
โอนเงินแล้วแจ้งที่  decho.by@hotmail.com

สนใจสั่งซื้อมาที่  โทร 085-0127724

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   0934903924
รายละเอียดไฟล์แนบ
กล่องตอบกลับด่วน

สามารถอัพโหลดไฟล์แนบ สำหรับโพสได้
กด "Ctrl+Enter" เพื่อตั้งกระทู้ได้