ประยุกต์ใช้ โพสล่าสุด โพสสำคัญ เครื่องมือ สมาชิก สถิติฟอรั่ม ธนาคาร
หัวข้อ : แนวข้อสอบนักวิชาการส่งเสริมสุขภาพ ท้องถิ่น อบต. เทศบาล
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

แนวข้อสอบนักวิชาการส่งเสริมสุขภาพ ท้องถิ่น อบต. เทศบาล

แนวข้อสอบ

พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐

 

1. พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.. ๒๕๓๕ ให้ไว้ ณ วันที่เท่าใด

ก.  ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๕                                ค. ๓๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๕

ข. ๒๙  มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๕                 ง. ๒๙ เมษายน  พ.ศ. ๒๕๓๕

2. ใครคือผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข              ค. ปลัดกระทรวงสาธารณสุข

ข. นายกรัฐมนตรี                                                      ง. คณะรัฐมนตรี

3. พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.. ๒๕๓๕ มีกี่หมวด กี่มาตรา

ก. 16  หมวด   90  มาตรา                                         ค. 16  หมวด  91  มาตรา

ข. 15  หมวด  90  มาตรา                                          ง. 15  หมวด  91  มาตรา

4. ข้อใดคือสิ่งปฏิกูล

ก. เศษอาหาร                                                             ค.  อุจจาระหรือปัสสาวะ 

ข. มูลสัตว์                                                                   ง. ซากสัตว์

5. ข้อใด ไม่ใข่ มูลฝอย

ก. เศษกระดาษ                                                          ค. ถุงพลาสติก 

ข. เศษผ้า                                                                    ง. สิ่งโสโครกหรือมีกลิ่นเหม็น

6. ใครเป็นประธานในคณะกรรมการสาธารณสุข

ก. อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์                     ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข

ข. อธิบดีกรมการแพทย์                                           ง. ปลัดกระทรวงสาธารณสุข

7.  “คณะกรรมการสาธารณสุข มีอำนาจหน้าที่อย่างไร

ก. เสนอความเห็นต่อรัฐมนตรีในการกำหนดนโยบาย แผนงานและมาตรการเกี่ยวกับการสาธารณสุข

ข. ศึกษา วิเคราะห์และให้ความเห็นต่อรัฐมนตรีในการปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับและคำสั่งเกี่ยวกับการสาธารณสุข

ค. ให้คำแนะนำต่อรัฐมนตรีในการออกกฎกระทรวง และต่อราชการส่วนท้องถิ่นในการออกข้อกำหนดของท้องถิ่น

ง. ถูกทุกข้อ

8. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการสาธารณสุข  มีไม่เกินกี่คน

ก. ไม่เกิน  3  คน                                                       ค. ไม่เกิน  5  คน

ข. ไม่เกิน  4  คน                                                       ง. ไม่เกิน  6  คน

9. ข้อใดคือข้อกำหนดของราชการส่วนท้องถิ่นในการรักษาความสะอาดและการจัดระเบียบในการเก็บ ขน และกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย

ก. ห้ามการถ่าย เท ทิ้ง หรือทำให้มีขึ้นในที่หรือทางสาธารณะซึ่งสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอยนอกจากในที่ที่ราชการส่วนท้องถิ่นจัดไว้ให้

ข. กำหนดให้มีที่รองรับสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอยตามที่หรือทางสาธารณะและสถานที่เอกชน

ค. กำหนดอัตราค่าธรรมเนียมการให้บริการของราชการส่วนท้องถิ่นในการเก็บและขนสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอยไม่เกินอัตราตามที่กำหนดในกฎกระทรวง

ง. ถูกทุกข้อ

10. ใครคือผู้มีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากำหนดจำนวนคนที่อาศัยต่อจำนวนพื้นที่ของอาคาร

ก. รัฐมนตรี

ข. รัฐมนตรีโดยคำแนะนำของคณะกรรมการ

ค. ปลัดกระทรวงสาธารณสุข

ง. คณะกรรมการสาธารณสุข

 

11. ข้อใดคือเหตุที่ก่อให้เกิดความรำคาญ

ก. การกระทำใด ๆ อันเป็นเหตุให้เกิดกลิ่น แสง รังสี เสียง ความร้อน สิ่งมีพิษ ความสั่นสะเทือน

ฝุ่น ละออง เขม่า เถ้า หรือกรณีอื่นใด จนเป็นเหตุให้เสื่อมหรืออาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ

ข. การเลี้ยงสัตว์ในที่หรือโดยวิธีใด หรือมีจำนวนเกินสมควรจนเป็นเหตุให้เสื่อม หรืออาจเป็น

อันตรายต่อสุขภาพ

ค. แหล่งน้ำ ทางระบายน้ำ ที่อาบน้ำ ส้วม หรือที่ใส่มูลหรือเถ้า หรือสถานที่อื่นใด ซึ่งอยู่ในทำเลไม่เหมาะสม สกปรก

ง. ถูกทุกข้อ

12. ในกรณีที่เจ้าพนักงานท้องถิ่นพบสัตว์ในที่หรือทางสาธารณะโดยไม่ปรากฏเจ้าของเจ้าพนักงานท้องถิ่นมีอำนาจกักสัตว์ไว้เป็นเวลาอย่างน้อยกี่วัน

ก. 7  วัน                                                                      ค. 30  วัน

ข. 15  วัน                                                                    ง. 60  วัน

13. จัดตั้งสถานที่จำหน่ายอาหารหรือสถานที่สะสมอาหารซึ่งมีพื้นที่เกินเท่าใดต้องได้รับใบอนุญาตจากเจ้าพนักงานท้องถิ่นและมิใช่เป็นการขายของในตลาด

ก. 100  ตารางเมตร                                                   ค. 300  ตารางเมตร

ข. 400 ตารางเมตร                                                    ง. 200  ตารางเมตร

14. ข้อใดคืออำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานท้องถิ่นและเจ้าพนักงานสาธารณสุข

ก. มีหนังสือเรียกบุคคลใด ๆ มาให้ถ้อยคำหรือแจ้งข้อเท็จจริง หรือทำคำชี้แจงเป็นหนังสือหรือให้ส่งเอกสารหลักฐานใดเพื่อตรวจสอบหรือเพื่อประกอบการพิจารณา

ข. เข้าไปในอาคารหรือสถานที่ใด ๆ ในเวลาระหว่างพระอาทิตย์ขึ้นถึงพระอาทิตย์ตก หรือในเวลาทำการเพื่อตรวจสอบหรือควบคุมให้เป็นไปตามข้อกำหนดของท้องถิ่น

ค. ยึดหรืออายัดสิ่งของใด ๆ ที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของประชาชนเพื่อประโยชน์ในการดำเนินคดีหรือเพื่อนำไปทำลายในกรณีจำเป็น

ง. ถูกทุกข้อ

 จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบนักวิชาการส่งเสริมสุขภาพ อบต. เทศบาล ท้องถิ่น

รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ
- แนวข้อสอบ พรบ. ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น 2542

- แนวข้อสอบ  พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล

- ความรู้เกี่ยวกับการจัดการสุขภาพ

แนวข้อสอบ ข่าว และเหตุการณ์ปัจจุบัน  การเมืองเศรษฐกิจและ สังคม

- ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับประชาสัมพันธ์

- สรุปสาระสำคัญ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550

- แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม

- ข้อสอบ พรบ. ระเบียบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไข 2550

- แนวข้อสอบ พรบ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539

- ข้อสอบ พรบ. กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจท้องถิ่น 2542

- แนวข้อสอบระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.2544

- แนวข้อสอบพระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2535

- แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการสาธารณสุข

- แนวข้อสอบ  พรบ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535

- ประกาศเรื่องกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ


ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่  โทร 085-0127724
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย  ในราคาเพียงชุดละ   399 บาท 

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ 399-

กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ 
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 ธ.กสิกรไทย 
สาคขาบิ๊กซีขอนแก่น ชื่อบัญชี เดโช  พระกาย  ออมทรัพย์
 
โอนเงินแล้วแจ้งที่  
decho.by@hotmail.com

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   0934903924
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 
โดยปกติถ้าข้อสอบมี 100 ข้อ 70-80 ข้อจะเป็นกฎหมายหลัก ได้แก่
1. รัฐธรรมนูญ 
2. พรบ.แผ่นดิน
3. พรบ.กระจายอำนาจ
4. พรบ.บริหารงานบุคคลท้องถิ่น
5. พรบ.ข้อมูลข่าวสาร
6. ระเบียบงานสารบรรณ
7. พรบ.วิธิปฏิบัติราชการทางปกครอง
8. พรบ.ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
9. พรบ.อบต. กรณีสอบ อบต.
10. พรบ.เทศบาล กรณีสอบเทศบาล
11. ระเบียบรักษาความลับ
12. พรบ.ปรับปรุงกระทรวงทบวงกรม
เป็นต้น
ส่วน 10-20 ข้อสุดท้าย จะเป็น 
1. พรบ.สาธารณสุข 
2. ประกาศเรื่องกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ 
3. พรบ.รักษาความสะอาด (บางทีก็ไม่ออก)
4. พรบ.ควบคุมสิ่งแวดล้อม
1,2,4 ซึ่งเป็นตัวหลัก 
สรุป คุณอย่าไปกังวลวิชาเฉพาะที่คุณเรียนมา ข้อสอบจะออกเป็นตัวบทกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตำแหน่งคุณ ไม่ได้เน้นความรู้ส่งเสริมสุขภาพ เพราะเขารู้อยู่แล้วว่าคุณเรียนมาเยอะ คุณปฏิบัติงานได้อยู่แล้ว เขากลัวคุณไม่รู้กฎหมาย ข้อบังคับ ต่างหาก เดี๋ยวไปทำผิดแล้วติดคุกหัวโต และเชื่อเถอะศิษย์เราได้ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพมาแล้ว 

มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง,มาตรฐานกำหนดตำแหน่งพนักงานเทศบาล,มาตรฐานกำหนดตำแหน่งพนักงานส่วนตำบล,มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง อบจ,มาตรฐานกำหนดตำแหน่งนักวิชาการศึกษา,มาตรฐานกำหนดตำแหน่งเทศบาล,มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง อบต,มาตรฐานกำหนดตำแหน่งเจ้าพนักงานธุรการ,มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ก.พ,มาตรฐานกำหนดตำแหน่งใหม่,มาตรฐานกำหนดตำแหน่งบุคลากร,มาตรฐานการเรียนรู้,มาตรฐานการศึกษา,มาตรฐานการบัญชี

--------------------------------------------------------------------------------
นักวิชาการส่งเสริมสุขภาพ

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   0934903924
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

   แนวข้อสอบ  

พรบ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535


1. พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535  บังคับใช้เมื่อใด

ก. 28   พฤษภาคม  2535 ค. 18  พฤษภาคม  2553

ข. 18   พฤษภาคม  2535 ง. 28   พฤษภาคม  2553

ตอบ  ก. 28   พฤษภาคม  2535

มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดหกสิบวันนับแต่วันถัดจากวัน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

2. ใครคือผู้ลงนามผู้รับสนองพระบรมราชโองการในพรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535  

ก. อานันท์ ปันยารชุน ค. อานันท์ ปันยารชุน

ข. พลเอก สุจินดา คราประยูร ง. พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ

ตอบ  ก. อานันท์ ปันยารชุน

3. ข้อใด ที่ พรบ. นี้ได้เปลี่ยนมาเป็น กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 

ก. กระทรวงวิทยาศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม

ข. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม

ค. กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม

ง. กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี

ตอบ  ค.  กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม

4. ตาม พรบ.นี้มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม  หมายความว่าอย่างไร

ก. ค่ามาตรฐานคุณภาพน้ำ

ข. ค่ามาตรฐานคุณภาพสัตว์  พืช

ค. ดุลยภาพของธรรมชาติ อันได้แก่ สัตว์ พืช

ง. ค่ามาตรฐานคุณภาพน้ำ อากาศ เสียง และ สภาวะอื่นๆ

ตอบ  ง. ค่ามาตรฐานคุณภาพน้ำ อากาศ เสียง และ สภาวะอื่นๆ

มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้

 “มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม” หมายความว่า ค่ามาตรฐานคุณภาพน้ำ อากาศ เสียง และ สภาวะอื่นๆ ของสิ่งแวดล้อม ซึ่งกำหนดเป็นเกณฑ์ทั่วไปสำหรับการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม

5. ใครคือผู้แต่งตั้ง เจ้าพนักงานควบคุมมลพิษ 

ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ข. ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 

ค. รองปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ด้านอำนวยการ)

ง. ผู้ตรวจราชการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ตอบ ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้

“เจ้าพนักงานควบคุมมลพิษ” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการเกี่ยวกับ การควบคุมมลพิษตามพระราชบัญญัตินี้

6. ข้อใดที่คือองค์กรที่ไม่มีสิทธิขอจดทะเบียนเป็นองค์กรเอกชนด้านการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติต่อกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ก. องค์กรเอกชนซึ่งมีฐานะเป็นนิติบุคคลตามกฎหมายไทย

ข. ที่มีกิจกรรมเกี่ยวข้องโดยตรงกับการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม

ค. มีวัตถุประสงค์ในทางการเมือง หรือมุ่งค้าหากำไรจากการประกอบกิจกรรมการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม

ง. องค์กรเอกชนซึ่งมีฐานะเป็นนิติบุคคลตามกฎหมายต่างประเทศ

ตอบ  ค. มีวัตถุประสงค์ในทางการเมือง หรือมุ่งค้าหากำไรจากการประกอบกิจกรรมการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม

 มาตรา 7  เพื่อเป็นการสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้องค์กรเอกชนซึ่งมีฐานะเป็นนิติบุคคลตามกฎหมายไทย หรือกฎหมายต่างประเทศที่มีกิจกรรมเกี่ยวข้องโดยตรงกับการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม หรืออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และมิได้มีวัตถุประสงค์ในทางการเมือง หรือมุ่งค้าหากำไรจากการประกอบกิจกรรมดังกล่าว มีสิทธิขอจดทะเบียนเป็นองค์กรเอกชนด้านการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติต่อกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม* ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง

7. ใครมีอำนาจหน้าที่กำหนดมาตรการป้องกันและจัดทำแผนฉุกเฉินเพื่อแก้ไขสถานการณ์อันเนื่องมาจากภัยธรรมชาติ หรือภาวะมลพิษที่เกิดจากการแพร่กระจายของมลพิษ

ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ข. ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 

ค. รองปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ด้านอำนวยการ)

ง. ผู้ตรวจราชการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ตอบ ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

มาตรา 10 เพื่อเป็นการป้องกันแก้ไข ระงับหรือบรรเทาเหตุฉุกเฉิน หรือเหตุภยันตราย จากภาวะมลพิษตามมาตรา 9 ให้รัฐมนตรีกำหนดมาตรการป้องกันและจัดทำแผนฉุกเฉินเพื่อ แก้ไขสถานการณ์ที่เกิดขึ้นไว้ล่วงหน้า

8. ใครคือประธานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ

ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ข. นายกรัฐมนตรี

ค. ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ง. ปลัดกระทรวงกลาโหม

ตอบ  ข.  นายกรัฐมนตรี

9. ใครมีอำนาจแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ

ก. นายกรัฐมนตรี

ข. คณะรัฐมนตรี

ค. ปลัดกระทรวงกลาโหม

ง. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อม

ตอบ  ข. คณะรัฐมนตรี

10. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีว่าระอยู่ในตำแหน่งความละกี่ปี

ก. 6  ปี ค.  4  ปี

ข. 5  ปี ง.  3    ปี

ตอบ  ง.  3  ปี

11. กรณีที่แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพิ่มในระหว่างที่กรรมการคนเดิมยังเหลือวาระอยู่  กรรมการคนที่แต่ตั้งเพิ่มต้องรำรงตำแหน่งกี่ปี

ก. เต็มวาระ 3  ปี

ข. ครึ่งหนึ่งของวาระที่กำหนดตาม พรบ. นี้

ค. ดำรงตำแหน่งเท่าวาระที่เหลือของ กรรมการคนเดิม

ง.  ไม่มีข้อใดถูก

ตอบ  ค. ดำรงตำแหน่งเท่าวาระที่เหลือของ กรรมการคนเดิม

มาตรา 14 ให้กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราว ละสามปี แต่อาจได้รับการแต่งตั้งใหม่ได้เป็นระยะเวลาติดต่อกันไม่เกินอีกหนึ่งวาระ

ในกรณีที่มีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพิ่มขึ้นในระหว่างที่กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งแต่งตั้งไว้แล้วยังมีวาระอยู่ในตำแหน่ง ให้ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งให้เป็นกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิเพิ่มขึ้นอยู่ในตำแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้รับ แต่งตั้งไว้แล้ว

12. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตำแหน่งเมื่อใด

ก. ตาย 

ข. เป็นบุคคลล้มละลาย

ค. เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ

ง. ถูกทุกข้อ

ตอบ  ง.  ถูกทุกข้อ

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   0934903924
รายละเอียดไฟล์แนบ
กล่องตอบกลับด่วน

กรุณาใช้ข้อความที่สุภาพ คุณสามารถบันทึกฉบับร่างได้
กด "Ctrl+Enter" เพื่อตั้งกระทู้ได้