ประยุกต์ใช้ โพสล่าสุด โพสสำคัญ เครื่องมือ สมาชิก สถิติฟอรั่ม ธนาคาร
หัวข้อ : เก็งข้อสอบตำรวจสายธุรการ ตำแหน่งการเงิน 2555
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

เก็งข้อสอบตำรวจสายธุรการ ตำแหน่งการเงิน 2555

จำหน่ายไฟล์แนวข้อสอบตำรวจชั้นประทวนเป็นสัญญาบัตร ปี 2555 (สายการเงิน)‏
รวมแนวข้อสอบเก่าเด็ดๆๆ  และข้อสอบที่ออกบ่อยมากส่งทางอีเมล์เป็นไฟเอกสาร

สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย  ในราคาเพียงชุดละ   399 บาทสนใจสั่งซื้อมาที่

  

สนใจสั่งซื้อมาที่ 080-604-2510 ,080-604-2504 หรือ ส่ง SMS / (WhatsApp , LINE)
ส่งเป็นไฟล์เอกสารส่งทางอีเมล์ สามารถนำไปปริ้นเพื่ออ่านได้เลย ในราคาเพียงชุดละ 399 บาท
ส่งเป็นไฟล์เอกสารทางอีเมล์ *อย่างด่วนภายใน 3 ชม. *อย่างช้าก่อน 24:00 น. ของวันที่โอนเงิน (อย่าลืม! เช็คที่ อีเมลขยะ)
(เปิดบริการทุกวัน เวลา 8.00 - 24.00 น.)
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 041-2-34899-2 ธ.กสิกรไทย ออมทรัพย์ สาขาถนนสาธุประดิษฐ์ ชื่อบัญชี สายรุ้ง สิงห์ศรี
โอนเงินแล้วแจ้งที่
lookmoo_00@hotmail.com

เนื้อหาประกอบด้วย 
เป็นข้อสอบพร้อมเนื้อหา


๑. หลักการบัญชีขั้นต้น 
๒. หลักการและนโยบายบัญชีสำหรับหน่วยงานภาครัฐฉบับที่๒
๓.ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ.๒๕๕๑
๔.ระเบียบการเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลังในหน้าที่ของอำเภอและกิ่งอำเภอ พ.ศ.๒๕๒๐
๕.พรบ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ.๒๕๐๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
๖.หลักการจำแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ
๗.ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ.๒๕๔๘ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
๘.มาตรฐานการตรวจสอบภายในและจริยธรรมของผู้ตรวจสอบภายในของส่วนราชการตามหนังสือกรมบัญชีกลาง
๙.พรบ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๗ และที่แก้ไขเพิ่มเติม และกฎ ก.ตร.ที่เกี่ยวข้อง
    ๙.๑ กฎ ก.ตร.ว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการและระยะเวลาการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ๒๕๔๗
    ๙.๒ กฏ ก.ตร.ว่าด้วยการสืบสวนข้อเท็จจริง พ.ศ.๒๕๔๗
    ๙.๓ กฎ ก.ตร.ว่าด้วยประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณตำรวจ พ.ศ.๒๕๕๑ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
๑๐. พระราชกฤษฏีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.๒๕๔๖

แนวข้อสอบ  หลักการจำแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ

1.   รายจ่ายตามงบประมาณ  จำแนกออกเป็นกี่ประเภท  อะไรบ้าง

ก.  2 ประเภท                                                                                ข.  3 ประเภท

ค.  4 ประเภท                                                                                ง.  5 ประเภท

ตอบ       ก.  2 ประเภท

รายจ่ายตามงบประมาณจำแนกออกเป็น 2 ลักษณะ ได้แก่

1.  รายจ่ายของส่วนราชการ  และรัฐวิสาหกิจ

2.  รายจ่ายงบกลาง

2.   ข้อใดไม่ใช่ประเภทสิ่งของที่เป็นวัสดุโดยสภาพ

ก.  วัสดุสำนักงาน                                                                        ข.  วัสดุไฟฟ้าและวิทยุ 

ค.  วัสดุงานบ้านงานครัว                                                           ง.  วัสดุครุภัณฑ์ 

ตอบ       ง.  วัสดุครุภัณฑ์

                ประเภทของวัสดุโดยสภาพ  มีดังนี้ 

1.  วัสดุสำนักงาน                                                                2.  วัสดุไฟฟ้าและวิทยุ

3.  วัสดุงานบ้านงานครัว                                                    4.  วัสดุก่อสร้าง

5.  วัสดุยานพาหนะและขนส่ง                                         6.  วัสดุเชื้อเพลิงและหล่อลื่น

7.  วัสดุวิทยาศาสตร์หรือการแพทย์                  8.  วัสดุการเกษตร

9.  วัสดุโฆษณาและเผยแพร่                                              10.  วัสดุเครื่องแต่งกาย

11.  วัสดุกีฬา                                                                        12.  วัสดุคอมพิวเตอร์         

3.   วัสดุประเภทสำนักงานที่มีลักษณะคงทนถาวร  และมีอายุการใช้งานในระยะเวลาประมาณ 1 ปีขึ้นไป  แต่มีราคาหน่วยหนึ่งหรือชุดหนึ่งไม่เกิน 5,000 บาท  ได้แก่ข้อใด

ก.  พระบรมฉายาลักษณ์                                                             ข.  เครื่องกรอเทป 

ค.  เครื่องกะเทาะเมล็ดพืช                                         ง.  สื่อการเรียนการสอนทำด้วยพลาสติก 

ตอบ       ก.  พระบรมฉายาลักษณ์

                วัสดุสำนักงานที่มีลักษณะคงทนถาวร  และมีอายุการใช้งานในระยะเวลาประมาณ 1 ปีขึ้นไป  แต่มีราคาหน่วยหนึ่งหรือชุดหนึ่งไม่เกิน 5,000 บาท  ให้จัดเป็นวัสดุ

1.  เครื่องตัดโฟม                                                                  2.  เครื่องตัดกระดาษ

3.  เครื่องเย็บกระดาษ                                                          4.  กุญแจ

5.  ภาพเขียน,  แผนที่                                                          6.  เครื่องดับเพลิง

7.  พระบรมฉายาลักษณ์                                                     8.  แผงปิดประกาศ

9.  กระดานดำรวมถึงกระดานไวท์บอร์ด                        10.  กระเป๋า

11.  แผ่นป้ายชื่อสำนักงานหรือหน่วยงาน  แผ่นป้ายจราจรหรือแผ่นป้ายต่างๆ

12.  มู่ลี่,  ม่านปรับแสง (ต่อผืน)                                        13.  พรม (ต่อผืน)

14.  นาฬิกาหรือแขวน                                                        15.  เครื่องคำนวณเลข (Calculator)

16.  หีบเหล็กเก็บเงิน                                                          17.  พระพุทธรูป

18.  พระบรมรูปจำลอง                                                       19.  แผงกั้นห้อง (Partition)

4.   ข้อใดหมายถึงรายจ่ายในหมวดค่าใช้สอย

ก.  ค่าใช้จ่ายในการดำเนินการรักษาความมั่นคงของประเทศ 

ข.  ค่ารักษาพยาบาลข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งที่ประจำอยู่ต่างประเทศ 

ค.  ค่าจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาหรือพัฒนาระบบต่างๆ 

ง.  ค่าจ้างเหมาเดินสายและติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าเพิ่มเติม 

ตอบ       ง.  ค่าจ้างเหมาเดินสายและติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าเพิ่มเติม          

ค่าใช้สอย หมายถึง รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งบริการใดๆ (นอกจากบริการสาธารณูปโภค) รายจ่ายเกี่ยวกับการรับรองและพิธีการ  และรายจ่ายเกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติราชการที่ไม่เข้าลักษณะรายจ่ายหมวดอื่นๆ  ได้ 

1.  ค่าปักเสาพาดภายนอกสถานที่ราชการ  เพื่อให้ราชการได้ใช้บริการไฟฟ้า

2.  ค่าจ้างเหมาเดินสายและติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าเพิ่มเติม

3.  ค่าวางท่อประปาภายนอกสถานที่ราชการ  เพื่อให้ราชการได้ใช้บริการน้ำประปา

4.  ค่าจ้างเหมาเดินท่อประปาและติดตั้งอุปกรณ์ประปาเพิ่มเติม

5.  ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งโทรศัพท์                                   6.  ค่าใช้จ่ายในการดำเนินคดี

7.  ค่าเย็บหนังสือหรือเข้าปกหนังสือ                              8.  ค่าซักฟอก

9.  ค่าตักสิ่งปฏิกูล                                                                10.  ค่าระวางบรรทุก

11.  ค่าเช่าทรัพย์สิน (นอกจากค่าเช่าบ้านข้าราชการ)

12.  ค่าโฆษณาและเผยแพร่ (รายจ่ายเกี่ยวกับการจ้างเหมาโฆษณาและเผยแพร่ เช่น การโฆษณาและเผยแพร่ข่าวทางวิทยุกระจายเสียง  โทรทัศน์  โรงมหรสพ  หรือสิ่งพิมพ์ต่างๆ  เป็นต้น)

13.  ค่าธรรมเนียมต่างๆ                                                      14.  ค่าบริการรับใช้

15.  ค่าเบี้ยประกัน

16.  ค่าจ้างเหมาบริการ (ค่าจ้างเหมาบริการให้ผู้รับจ้างทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง  ซึ่งมิใช่เป็นการประกอบ  ดัดแปลงต่อเติมครุภัณฑ์หรือสิ่งก่อสร้างและอยู่ในความรับผิดชอบของผู้รับจ้าง  เช่น  ค่าจ้างเหมาสูบน้ำ  ค่าจ้างแบกสัมภาระ  ค่าบริการจำกัดปลวก  เป็นต้น)

5.   รายจ่ายของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ  หมายถึงข้อใด

ก.  รายจ่ายซึ่งกำหนดไว้สำหรับแต่ละส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจโดยเฉพาะ 

ข.  รายจ่ายซึ่งส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจได้ขอเบิกไว้ 

ค.  รายจ่ายที่กำหนดไว้จ่ายเพื่องานในส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ 

ง.  ไม่มีข้อใดถูกต้อง 

ตอบ       ก.  รายจ่ายซึ่งกำหนดไว้สำหรับแต่ละส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจโดยเฉพาะ

                รายจ่ายของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ  หมายถึง  รายจ่ายซึ่งกำหนดไว้สำหรับแต่ละส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจโดยเฉพาะ

6.   รายจ่ายของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ  จำแนกออกเป็น 5 ประเภท  ได้แก่อะไรบ้าง

ก.  งบบุคลากร,  งบดำเนินงาน,  งบกองกลาง,  เงินเดือน,  งบลงทุน 

ข.  เงินประตำแหน่ง,  เงินเดือน,  งบดำเนินงาน,  งบรายจ่ายอื่น,  งบกองกลาง 

ค.  งบบุคลากร,  งบดำเนินงาน,  งบลงทุน,  งบเงินอุดหนุน,  งบรายจ่ายอื่น 

ง.  งบเงินอุดหนุน,  งบลงทุน,  งบกองกลาง,  เงินประจำตำแหน่ง,  เงินเดือน 

ตอบ       ค.  งบบุคลากร,  งบดำเนินงาน,  งบลงทุน,  งบเงินอุดหนุน,  งบรายจ่ายอื่น

                รายจ่ายของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ  จำแนกออกเป็น 5 ประเภท ได้แก่

1. งบบุคลากร                                                                       2. งบดำเนินงาน

3.  งบลงทุน                                                                          4.  งบเงินอุดหนุน

5.  งบรายจ่ายอื่น

7.   งบบุคลากร”  หมายถึงข้อใด

ก.  รายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายเพื่อการบริหารงานบุคคลภาครัฐ 

ข.  รายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายเพื่อการบริหารงานประจำ 

ค.  รายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายเพื่อการลงทุน 

ง.  รายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายเป็นค่าบำรุงหรือเพื่อช่วยเหลือหน่วยงาน 

ตอบ       ก.  รายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายเพื่อการบริหารงานบุคคลภาครัฐ

                งบบุคลากร  หมายถึง  รายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายเพื่อการบริหารงานบุคคลภาครัฐ  ได้แก่  รายจ่ายที่จ่ายในลักษณะเงินเดือน  ค่าจ้างประจำ  ค่าจ้างชั่วคราว  และค่าจ้างลูกจ้าง  สัญญาจ้าง  รวมถึงรายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายจากงบรายจ่ายอื่นๆ ในลักษณะรายจ่ายดังกล่าว 

8.   ข้อใดไม่ใช่ประเภทของรายจ่ายงบกลาง

ก.  เงินเบี้ยหวัดบำเหน็จบำนาญ 

ข.  เงินช่วยเหลือข้าราชการ  ลูกจ้าง  และพนักงานของรัฐ 

ค.  เงินสำรองเงินสมทบและเงินชดเชยของข้าราชการ 

ง.  เงินค่าเช่าบ้านข้าราชการ 

ตอบ       ง.  เงินค่าเช่าบ้านข้าราชการ

                รายจ่ายงบกลาง หมายถึง รายจ่ายที่ตั้งไว้เพื่อจัดสรรให้ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจโดยทั่วไปใช้จ่าย  ตามรายการดังต่อไปนี้ 

1.  เงินเบี้ยหวัดบำเหน็จบำนาญ

2.  เงินช่วยเหลือข้าราชการ  ลูกจ้าง  และพนักงานของรัฐ

3.  เงินเลื่อนขั้น  เลื่อนอันดับเงินและเงินปรับวุฒิข้าราชการ

4.  เงินสำรองเงินสมทบและเงินชดเชยของข้าราชการ

5.  เงินสมทบของลูกจ้างประจำ

6.  ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการเสด็จพระราชดำเนินและต้อนรับประมุขต่างประเทศ

7.  เงินสำรองจ่ายเพื่อฉุกเฉินหรือจำเป็น

8.  ค่าใช้จ่ายในการดำเนินการรักษาความมั่นคงของประเทศ

9.  เงินราชการลับในการรักษาความมั่นคงของประเทศ

10.  ค่าใช้จ่ายตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ

11.  ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลข้าราชการและลูกจ้างพนักงานของรัฐ

9.   “งบดำเนินงาน”  หมายถึงข้อใด

ก.  รายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายเพื่อการบริหารงานบุคคลภาครัฐ 

ข.  รายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายเพื่อการบริหารงานประจำ 

ค.  รายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายเพื่อการลงทุน 

ง.  รายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายเป็นค่าบำรุงหรือเพื่อหน่วยงาน 

ตอบ       ข.  รายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายเพื่อการบริหารงานประจำ

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   0934903924
รายละเอียดไฟล์แนบ
กล่องตอบกลับด่วน

กรุณาใช้ข้อความที่สุภาพ คุณสามารถบันทึกฉบับร่างได้
กด "Ctrl+Enter" เพื่อตั้งกระทู้ได้