ประยุกต์ใช้ โพสล่าสุด โพสสำคัญ เครื่องมือ สมาชิก สถิติฟอรั่ม ธนาคาร
หัวข้อ : เก็งข้อสอบเหตุการณ์ปัจจุบัน อบต.จังหวัดระยอง
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

เก็งข้อสอบเหตุการณ์ปัจจุบัน อบต.จังหวัดระยอง

พบกันก่อนสอบ+

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบ อบต. อบจ. เทศบาล ที่ใช้สอบทั่วประเทศ
รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ รวมแนวข้อสอบเก่าเด็ดๆๆ  และข้อสอบที่ออกบ่อยมาก

 หลายตำแหน่งเช่น  เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี 2  เจ้าพนักงานพัสดุ 2  เจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชน 2
 นายช่างโยธา  2  นายช่างไฟฟ้า 2  เจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้ 2
เจ้าพนักงานพัฒนาชุมชน 2 เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาฯ 2
นักวิชาการเงินและบัญชี 3 นักวิชาการศึกษา 3  นิติกร 3 นักพัฒนาชุมชน 3
วิศวกรโยธา 3 เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน 3 บุคลากร 3 เจ้าหน้าที่สันทนาการ 3
เจ้าหน้าที่บริหารทะเบียนและบัตร 3 นักวิชาการคลัง 3 นักวิชาการพัสดุ 3
เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 3 นักวิชาการจัดเก็บรายได้ 3
แนวข้อสอบภาค ก.ความรู้ความสามารถทั่วไป ภาษาไทย คณิตศาสตร์  
และภาค ข. ความรู้ความสามารถเฉพาะตำแหน่ง
สนใจสั่งซื้อมาที่  080-604-2510 ,080-604-2504  หรือ ส่ง SMS / (WhatsApp , LINE)
ส่งเป็นไฟล์เอกสารส่งทางอีเมล์ สามารถนำไปปริ้นเพื่ออ่านได้เลย ในราคาเพียงชุดละ 399 บาท
ส่งเป็นไฟล์เอกสารทางอีเมล์ *อย่างด่วนภายใน 3 ชม. *อย่างช้าก่อน 24:00 น. ของวันที่โอนเงิน (อย่าลืม! เช็คที่ อีเมลขยะ)
(เปิดบริการทุกวัน เวลา 8.00 - 24.00 น.)
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 041-2-34899-2 ธ.กสิกรไทย  ออมทรัพย์
สาขาถนนสาธุประดิษฐ์  ชื่อบัญชี สายรุ้ง  สิงห์ศ
รี 
โอนเงินแล้วแจ้งที่  
lookmoo_00@hotmail.com
จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   0934903924
beebee234 ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ใช้ระดับ I
รายละเอียดผู้ใช้ 
ตอบกลับโพสของ (admin)
ขอคำตอบ
beebee234 ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ใช้ระดับ I
รายละเอียดผู้ใช้ 
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 
1.ข้อต่อไปนี้ที่มิใช่หลักเกณฑ์ของการจำแนกประเภทของนโยบายสาธารณะ
ก.ขอบข่ายผลกระทบของนโยบาย   ข.เนื้อหาและวัตถุประสงค์ของโยบาย
ค.กิจกรรมสำคัญของรัฐบาล        ง.รูปแบบโดยทั่วไปของรัฐบาล
2. ประโยชน์อย่างหนึ่งของการจัดนโยบายสาธารณะ คือ
ก. ทำให้ทราบได้ว่ารัฐบาลหนึ่งๆควรประกอบด้วยบุคคลในปริมาณและคุณภาพเท่าใดจึงจะสามารถกำหนด นโยบายอย่างมีประสิทธิภาพ
ข. ทำให้สามารถคาดคะเนได้ว่า จะมีการเปลี่ยนแปลงวิธีการและขั้นตอนการกำหนดนโยบายเช่นใดบ้างในอนาคต
ค. ทำให้ทราบถึงขั้นตอน วิธีการและเทคนิคของการดำเนินต่างๆเกี่ยวกับนโยบายได้อย่างถูกต้อง
ง. ทำให้ทราบได้ว่าประชาชนได้รับประโยชน์จากนโยบายต่างๆที่ได้กำหนดขึ้นอย่างเต็มที่

3. ข้อใดที่ถือว่าเป็นนโยบายหลักที่ทุกประเทศจะต้องมีอยู่เหมือนกันและถือเป็นกิจกรรมสำคัญที่ทุกประเทศต้องปฏิบัติ
ก.นโยบายต่างประเทศ           ข.นโยบายการประกันสังคม
ค.นโยบายเคหะสงเคราะห์      ง.นโยบายป้องกันและรักษาป่าไม้

4.นโยบายสาธารณะ หมายถึง แผนงาน หรือแนวทางการกระทำต่างๆ ทรรศนะข้างต้นนี้เป็นของใคร
ก.ชาร์ลส์ จาคอป           ข.ฮาโรลด์ ลาสเวลล์ กับอับราแอม แคปแพลน
ค.ธอมัส ดาย                ง.วิลเลี่ยม กรีนวูด

5. กรอบแนวคิดอย่างหนึ่งของวิธีการศึกษานโยบายสาธารณะ ได้แก่วิธีการศึกษาในแง่
ก.ผลกระทบของนโยบาย        ข.การนำนโยบายไปปฏิบัติ
ค.ผลผลิตของนโยบาย            ง.กระบวนนโยบาย

6. ข้อความต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง
ก.การศึกษารัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่ได้มุ่งเน้นเป้าหมายในเรื่องความเป็นธรรมทางสังคมมาตั้งแต่ทศวรรษที่ 1960.
ข. การศึกษานโยบายสาธารณะตามแนวทางรัฐศาสตร์ประการหนึ่งคือการศึกษากำหนดนโนบายในแง่ที่เป็นกิจกรรมทางการเมืองอย่างหนึ่ง
ค.ขอบข่ายของการศึกษานโยบายสาธารณะในทรรศนะของสจวต เนเกล มีอยู่ 3 ประเด็นตามกระบานการของนโยบาย
ง.ความรู้เกี่ยวกับประเด็นของนโยบายเป็นความรู้เกี่ยวกับรูปแบบ วิธีการกำหนดนโยบายสาธารณะ

7.ข้อใดเป็นลักษณะประการหนึ่งของการศึกษานโยบายสาธารณะตามแนวรัฐประศาสนศาสตร์
ก.เป็นการศึกษาวิเคราะห์นโยบายโดยมุ่งเน้นที่ขั้นตอนการกำหนดนโยบาย
ข. เป็นการศึกษาโดยนักรัฐประศาสนศาสตร์โดยเฉพาะ
ค. เป็นการศึกษาถึงศาสตร์ว่าด้วยนโยบาย
ง. เป็นการศึกษาเพื่ออธิบายถึงสาเหตุและผลกระทบต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมของรัฐ

8. การกำหนดนโยบายสาธารณะและการตัดสินใจมีขั้นตอนการดำเนินงานที่เกือบจะเป็นอย่างเดียวกัน ข้อความข้างต้นเป็นทรรศนะของใคร
ก.เยเฮชเกิล ดรอร์        ข.ไอรา ชาร์แคนสกี
ค.ธอมัส ดาย               ง. ริชาร์ด เกบิล

9. ขอบข่ายของการศึกษานโยบายสาธารณะในทรรศนะของสจ๊วต เนเกล คือ
ก.การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับนโยบาย ข. การวิเคราะห์เปรียบเทียบผลผลิตของนโยบาย
ค.การนำนโยบายไปปฏิบัติ ค.การพัฒนานโยบาย

10. แนวคิดที่ว่าฝ่ายการเมืองควรมีบทบาทในการกำหนดและควบคุมนโยบาย และฝ่ายราชการประจำควรมีหน้าที่ในการนำนโยบายไปปฏิบัตินั่น เป็นแนวความคิดในเชิงใด
ก.รัฐศาสตร์                             ข.ปทัสถาน
ค.รัฐประศาสนศาสตร์             ค.ประจักษ์

11. ตัวอย่างหนึ่งของตัวแบบนโยบายที่มีการนำมาใช้ศึกษานโยบายสาธารณะ คือตัวแบบอะไร
ก. การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ                     ข.ทฤษฎีทางการเมือง
ค.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน           ง.สถาบัน

12. การศึกษารัฐศาสตร์สมัยดั้งเดิมเป็นการศึกษาที่ให้ความสนใจในเรื่องใด
ก.นโยบายสาธารณะของประเทศต่างๆ            
ข.ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลของประเทศต่างๆ
ค.กระบวนการและพฤติกรรมการกำหนด นโยบายของรัฐบาลต่างๆ
ง. ภารกิจของพรรคการเมืองและกลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ

13. การศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ก็คือการศึกษาการกำหนดนโยบายสาธารณะนั่นเอง เป็นทรรศนะของใคร
ก. ดับเบิลยู เฮนรี แลมไบรท์                ข.เอช จอร์จ เฟรเดอริคสัน
ค.ไอรา ชาร์แคนสกี                              ง.ชาร์ลส์ ลินบอล์ม

14. ปัจจัยสภาพแวดล้อมมีอิทธิพลต่อนโยบายสาธารณะอย่างไร
ก.มีอิทธิพลต่อการกำหนด นโยบายสาธารณะโดยตรง
ข.มีอิทธิพลต่อการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติโดยตรง
ค.มีอิทธิพลต่อการประเมินผลนโยบายสาธารณะโดยตรง
ง.มีอิทธิพลต่อการวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการโดยตรง



15. ข้อใดคือปัจจัยสภาพแวดล้อมที่อยู่ภายนอกระบบการเมือง
ก.ปัจจัยเกี่ยวกับผู้นำ                      ข.ปัจจัยเกี่ยวกับจิตวิทยา
ค.ปัจจัยเกี่ยวกับการเมือง              ง.ปัจจัยเกี่ยวกับประวัติศาสตร์

16.การเมืองกับการบริหารแตกต่างกันอย่างไร
ก. การเมืองเป็นเรื่องการกำหนดวิธีการจัดสรรผลประโยชน์ การบริหารเป็นเรื่องการจัดสรรผลประโยชน์
ข.การเมืองเป็นเรื่องการจัดสรรผลประโยชน์ การบริหารเป็นเรื่องการกำหนดวิธีการจัดสรรผลประโยชน์
ค.การเมืองเป็นเรื่องการจัดทำแผนและโครงการ การบริหารเป็นเรื่องการนำแผนและโครงการไปปฏิบัติ
ง.การเมืองเป็นการได้มาซึ่งอำนาจการบริหารเป็นเครื่องมือในการแสวงหาอำนาจ

17.ปัญหาความยากจนเป็นปัญหาประเภทใค
ก. ปัญหาป้องกัน    ข. ปัญหาพัฒนา     ค. ปัญหาขัดข้อง  ง. ปัญหาเฉพาะเรื่อง

18.การกำหนดนโยบายสาธารณะโดยใช้ประสบการณ์ในอดีตเป็นแนวทางในการตัดสินใจคือ ตัวแบบใด
ก. ตัวแบบชั้นผู้นำ     ข.ตัวแบบกลุ่ม     ค. ตัวแบบกระบวนการ    ง.ปัญหาเฉพาะเรื่อง

19. คุณลักษณะของผู้นำในการกำหนดนโยบายสาธารณะ คือ ข้อใด
ก.มีความสาสมรถทำให้ผู้อื่นยอมรับ ข.มีความสามารถวางแผนสั่งการ
ค.มีความสามารถในการติดต่อสื่อสาร ง.มีความสามารถในการควบคุม

20. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถือว่าเป็นการกำหนดนโยบายสาธารณะ
ก. นายยกรัฐมนตรีกล่าวว่า รัฐบาลจะดำเนินการทุกวิถีทางที่จะส่งเสริมการลงทุนเพื่อส่งออก
ข.นายกรัฐมนตรีประกาศยุบสภา
ค.นายกรัฐมนตรีส่งตัวแทนออกไปพบชาวนาที่ชุมนุมประท้วงอยู่ที่หน้าทำเนียบเพื่อให้มีการประกันราคาข้าว
ง.นายกรัฐมนตรีตอบกระทู้ถามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

21.บุคคลหรือองค์กรใดในหัวข้อต่อไปนี้มีอำนาจหน้าที่ในการกำหนดนโยบายสาธารณะแห่งชาติโดยลำพัง
ก.นายกรัฐมนตรี     ข. ประธานาธิบดี          ค. คณะรัฐมนตรี      ง. รัฐสภา

22. ข้อต่อไปนี้ข้อใดไม่ใช่กลไกในการกำหนดนโยบายสาธารณะ
ก. ประชาชน     ข. ข้าราชการ         ค.คณะรัฐมนตรี     ง. ปลัดกระทรวง

23. กิจกรรมใดต่อไปนี้เป็นกิจกรรมที่ต้องกระทำในขั้นตอนของการระบุปัญหา
ก.สำรวจสถานการณ์                 ข.กำหนดสภาพที่ต้องการจะให้เกิดขึ้นหลังจากการดำเนินการแก้ปัญหาแล้ว
ค.กำหนดเป้าหมาย               ง.กำหนดแนวทางการกระทำ

24. การสำรวจสถานการณ์เป็นกิจกรรมที่ต้องกระทำในขั้นตอนใดของการกำหนดนโยบายสาธารณะ
ก.กำหนดวัตถุประสงค์ ข. กำหนดหัวข้อปัญหา ค. จักทำข้อเสนอนโยบาย ง.กำหนดสภาพของปัญหา
25. การตักสินใจตามตัวแบบสมเหตุสมผลควรทำอย่างไร
ก.ยอมรับนโยบายเดิม                     ข.ยอมรับนโยบายที่มีการเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็ยค่อยไป
ค.ยอมรับนโยบายที่ต้นทุนต่ำ      ง. ไม่ยอมรับนโยบายที่ไม่มีความแตกต่างระหว่างต้นทุนกับผลประโยชน์

26.ในขั้นตอนกำหนดการวิเคราะห์ของกระบวนการวิเคราะห์นโยบาย นักวิเคราะห์จะใช้ประโยชน์จากข้อใดมากที่สุด
ก.การพยากรณ์                        ข.การกำหนดตัวแบบ
ค.การวิเคราะห์ระบบ              ง.การวิเคราะห์ต้นทุนผลประโยชน์

27. ข้อใดคือกลไกการกำหนดนโยบายสาธารณะที่มีลักษณะจากล่างขึ้นบน
ก.ข้าราชการ       ข.ประชาชน    ค.สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร       ง. คณะรัฐมนตรี

28. โดย ทั่วๆไปการประใช้นโยบายสาธารณะระดับชาติจะตราขึ้นเป็น
ก.รัฐธรรมนูญ    ข.รัฐบัญญัติ    ค.กฤษฎีกา    ง.ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี

29.ข้อใดเป็นเครื่องมือสำคัญในการวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ
ก.การวิเคราะห์เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ       ข. การพยากรณ์เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
ค.การวิเคราะห์ต้นทุนประสิทธิภาพ                  ง.การกำหนดตัวแบบ

30. การศึกษาในข้อใดต่อไปนี้ถือว่าอยู่ในขอบข่ายของการศึกษาการนำ นโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ
ก.การศึกษาความแตกต่างในการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติของนโยบายแต่ละประเภท
ข. การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลของการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ
ค.การศึกษาเปรียบเทียบสัมฤทธิ์ผลของกลยุทธ์ในการนำนโยบายไปปฏิบัติ
ง. ถูกทุกข้อ

31. การวัดความสำเร็จของการนำนโยบายไปปฏิบัติตามแนวทางข้อใดที่ถือว่า มีขอบข่ายกว้างและตรงประเด็นมากที่สุด
ก.การพิจารณาระดับความร่วมมือของผู้ปฏิบัติ
ข.การพิจารณาว่านโยบายนั่นก่อให้เกิดผลการปฏิบัติในระยะสั้นและหรือก่อให้เกิดผลกระทบตามที่พึงปรารถนา
ค.การพิจารณาระดับความล่าช้าที่เกิดขึ้นในกระบวนการของการนำนโยบายไปปฏิบัติ
ง. การพิจารณาระดับของความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในกระบวนการของการนำนโยบายไปปฏิบัติ

32. ความสำเร็จในการนำนโยบายไปปฏิบัติในบางครั้งอาจจะไม่นำไป สู่ผลกระทบในทางที่พึงปรารถนาเสมอไป หากนโยบายนั้นมีรากฐานมาจากอะไร
ก. ทฤษฏีไม่ถูกต้อง ข.ความขัดแย้งในเป้าหมายนโยบาย
ค. ความแตกต่างในวัตถุประสงค์ของหน่วยปฏิบัติ ง.ความล้มเหลวในการระบุแนวทางปฏิบัติ

33. โดยทั่วไปฝ่ายใดมีบทบาทที่สำคัญที่สุดในกระบวนการนำนโยบายสาธารณะไป ปฏิบัติ
ก. พรรคการเมือง ข. ระบบราชการ ค.สภาผู้แทนราษฎร ง. ภาคธุรกิจเอกชน
34. โดยทั่วไปแล้ว ขั้นตอนการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ระดับใหญ่ๆคือ
ก.ขั้นตอนของการแปลงนโยบายออกเป็นแนวทางปฏิบัติ และขั้นตอนในการทำให้หน่วยงานในระดับท้องถิ่นยอมรับแนวทางปฏิบัติดังกล่าว
ข.ขั้นตอนในระดับมหาภาค และขั้นตอนในระดับจุลภาค
ค. ขั้นตอนในการพิจารณารับนโยบาย และขั้นตอนในการสร้างความเป็นปึกแผ่น
ง.ขั้นตอนในการระดมพลัง และขั้นตอนในการสร้างความต่อเนื่อง

35. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงนโยบายของหน่วยงาน ที่รับผิดชอบในการนำไปปฏิบัติ
ก.ความขัดแย้งของนโยบาย                           ข. ความสอดคล้องกันระหว่างเป้าหมายของนโยบาย
ค. ความร่วมมือและความจริงใจของหน่วยงานที่รับผิอชอบ            ง. ถูกทุกข้อ

36. ปัญหาสรรถนะเป็นปัญหาหลักด้านหนึ่งของการนำนโยบายไปปฏิบัติ ปัญหาในลักษณะดังกล่าวจะมีมากน้อยเพียงไดขึ้นอยู่กับปัจจัยย่อยต่างๆ ยกเว้นปัจจัยด้านใด
ก. ปัจจัยด้านบุคลากร                                                  ข. ปัจจัยด้านเงินทุน
ค. ปัจจัยด้านวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องมือ       ง.ปัจจัยด้านความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานที่รับผิดชอบ

37. การประเมินผลนโยบาย จะกระทำเมื่อใด
ก.ก่อนมีการดำเนินการตามนโยบาย             ข. หลังจากการดำเนินการตามนโยบาย
ค.ระหว่างดำเนินการ และหลังจากดำเนินการตามนโยบาย
ง. เป็นขั้นตอนสุดท้ายของกระบวนการการกำหนดนโยบาย

38. การวิเคราะห์และประเมินนโยบายสาธารณะควรกระทำอย่างไร
ก. วิเคราะห์และประเมินผลอย่างละเอียดเฉพาะจุด     ข. วิเคราะห์และประเมินอย่างจำกัดวง หรือย่างแคบ
ค. วิเคราะห์และประเมินผลอย่างกว้างๆ ทั่วๆไป      ง. วิเคราะห์และประเมินผลอย่างครอบคลุม

39. เกณฑ์การประเมินนโยบายสาธารณะที่ควรคำนึงถึงมากที่สุด คือ
ก. เกณฑ์ศักยภาพ                                        ข. เกณฑ์การลงทุน  
  ค. เกณฑ์การสนองตอบความต้องการ     ง.เกณฑ์ค่าใช้จ่ายดำเนินการ

40. ปัญหาข้อต่อไปนี้ข้อใดมิใช่ปัญหาในการประเมินนโยบายสาธารณะที่มักเกิดขึ้นเสมอ
ก.ปัญหาความไม่แน่ชัดของเป้าหมายและวัตถุประสงค์
ข.ปัญหาตัวบุคคลที่ทำการประเมิน
ค.ปัญหา ด้านข้อมูลข่าวสาร
ง. ปัญหางบประมาณ

41. ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ก่อให้เกิดปัญหาในการประเมินได้แก่
ก. ลักษณะนโยบายที่เป็นนามธรรม         ข.ลักษณะนโยบายที่เป็นรูปธรรม
ค. ลักษณะนโยบายที่เป็นการกระทำ         ง. ลักษณะนโยบายที่ไม่เป็นการกระทำ
42. การปรับปรุงนโยบายสาธารณะ หมายถึง
ก. การยกเลิกนโยบายเดิม                          ข. การแก้ไขนโยบายให้เหมาะสมยิ่งขึ้น
ค. การกำหนดนโยบายออกมาใหม่            ง. การนำนโยบายที่เลิกใช้แล้วมาใช้อีก

43. แผนพัฒนาประเทศไทยเริ่มตั้งแต่เมื่อใด
ก. พ.ศ. 2504      ข. พ.ศ. 2508     ค. พ.ศ. 2500     ง. พ.ศ. 2498

44. ส่วนประกอบสำคัญที่สุดของแผนคืออะไร
ก. ชื่อแผน      ข. ชื่อบุคคลผู้อนุมัติ      ค. ประเด็นปัญหา    ง.ทรัพยากรที่ต้องใช้

45. การวางแผนเป็นหน้าที่ความรับผิดชอบของใคร
ก. ผู้บริหารระดับสูง     ข. ผู้ช่วยและผู้ใต้บังคับบัญชา     ค. ที่ปรึกษา    ง. คณะกรรมการ
จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   0934903924
รายละเอียดไฟล์แนบ
กล่องตอบกลับด่วน

สามารถอัพโหลดไฟล์แนบ สำหรับโพสได้
กด "Ctrl+Enter" เพื่อตั้งกระทู้ได้