ประยุกต์ใช้ โพสล่าสุด โพสสำคัญ เครื่องมือ สมาชิก สถิติฟอรั่ม ธนาคาร
หัวข้อ : เก็งข้อสอบนักวิชาการส่งเสริมการลงทุนปฏิบัติการ (BOI)
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

เก็งข้อสอบนักวิชาการส่งเสริมการลงทุนปฏิบัติการ (BOI)

1. ข้อใดคือคำขวัญของกลุ่มสมาคมอาเซียน

ก. หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม         ข.  รวมใจ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม

ค.  สิบประเทศแห่งลุมน้ำโขง                      ง.  สุดยอดอาเซียน สุดยอดเศรษฐกิจ

ตอบ    ก. 
หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม



2. ข้อใดไม่ใช่สมาชิกของกลุ่มอาเซียนบวก
สาม

ก.  จีน


ข.  เกาหลีใต้

ค.  ญี่ปุ่น

ง.  อินเดีย

ตอบ  ง.อินเดีย



3. แนวคิดและทิศทางการปรับตัวของประเทศไทยจำเป็นต้องปรับหันมาทบทวนกระบวนการและการพัฒนาให้เป็นไปในทิศทางใด

ก.  ให้เป็นไปในทิศทางและกระแสโลกาภิวัฒน์

ข. 
ในทิศทางก้าวกระโดดและเร่งรีบในแผนพัฒนาฉบับที่
9 และฉบับที่ 10 ให้ครบทุกมิติ

ค.  ในทิศทางสายกลางตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง

ง. 
ในทิศทางที่ขีดความสามารถการดำรงอยู่อย่างมั่นคงตามกระแสเศรษฐกิจโลก

ตอบ  ค. 
ในทิศทางสายกลางตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง



4. จากการปรับกระบวนการต่อการพัฒนาประเทศให้เกิดความสมดุลยั่งยืนและเป็นธรรมจำเป็นต้องมุ่งเน้นการพัฒนาในรูปแบบใด

ก.  การพัฒนาภาคอุตสาหกรรมและภาคเกษตรควบคู่กันไป

ข. 
การพัฒนาภาคธุรกิจขนาดเล็ก,ให้สามารถแข่งขันธุรกิจขนาดใหญ่ได้มากขึ้น

ค. 
การพัฒนาแบบองค์รวมที่มีคนเป็นศูนย์กลาง

ง. 
การพัฒนาจากภาครัฐและภาคเอกชนต้องเป็นธรรม

ตอบ  ค.  การพัฒนาแบบองค์รวมที่มีคนเป็นศูนย์กลาง



5. ทิศทางการพัฒนาประเทศในระยะ 10-15 ปีข้างหน้าจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนให้อยู่บนพื้นฐานดุลยภาพเชิงพลวัตของการพัฒนาโดยตั้งมั่นต่อการพัฒนาเช่นใดเพื่อรับรองการเปลี่ยนแปลงอาจเกิดขึ้น

ก.  ยึดหลักความพอเพียง                                    ข.  ยึดหลักความพอประมาณ

ค.  ยึดหลักความมีเหตุผล                                    ง.  ยึดหลักการระบบภูมิคุ้มกัน

ตอบ  ก.  ยึดหลักความพอเพียง



6. ความพอเพียงตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ข้อใดมิใช่คุณลักษณะสำคัญ 3 ประการ

ก.  ความพอประมาณ                                          ข.  ความมีเหตุผล

ค.  ความรอบรู้                                                      ง.  ระบบภูมิคุ้มกัน

ตอบ  ค.  ความรอบรู้



7. การวิเคราะห์และทำความเข้าใจกับสถานะของประเทศได้อย่างขัดเจนว่ามีจุดอ่อนหรือจุดแข็งในการพัฒนาเรื่องใดบ้าง  ต้องใช้หลักการใดในการวิเคราะห์

ก.  หลักการพอเพียง                                           ข.  การใช้หลักความมีเหตุผล

ค.  การใช้หลักความพอประมาณ                     ง.  การใช้หลักระบบภูมิคุ้มกัน

ตอบ  ข.  การใช้หลักความมีเหตุผล



8. วิธีคิดอย่างมีเหตุผลจะนำไปสู่การตัดสินใจเกี่ยวกับความพอประมาณ  เพื่อสร้างความสมดุลในการพัฒนาบนพื้นฐานข้อใด

ก.  ความพอดีระหว่างสังคมชนบทและสังคมเมือง

ข. ความพอดีระหว่างการพึ่งพาภายในกับการแข่งขัน

ค. 
ความพอดีระหว่างชุมชนกับการพึ่งพาอาศัยกัน

ง. 
ความพอดีระหว่างการค้ากับการเก็บไว้ใช้เอง

ตอบ  ก.  ความพอดีระหว่างสังคมชนบทและสังคมเมือง



9. สถานการณ์ต่างๆ
ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นและมีการเตรียม “ระบบภูมิคุ้มกัน”  ให้พอเพียงพร้อมรับผลที่จะเกิดขึ้นด้วยวิธีการใด

ก.  ด้วยการบริหารจัดการที่ดี                             ข.  ด้วยการบริหารจัดการทุน

ค.  ด้วยการบริหารจัดการความเสี่ยง                ง.  ด้วยการคำนึงถึงผลที่คาดหวังได้

ตอบ  ค.  ด้วยการบริหารจัดการความเสี่ยง



10.  ในการขับเคลื่อนกระบวนการพัฒนาทุกขั้นตอนจำเป็นต้องใช้สิ่งใดเข้ามาใช้ในการพัฒนาด้านต่างๆ

ก.  คุณธรรม                                                          ข.  ความรู้

ค.  ความเพียร                                                       ง.  ความระมัดระวัง

ตอบ    ข.  ความรู้



11. ในการพัฒนาด้านต่างๆ
ด้วยความรอบคอบเป็นไปตามขั้นตอนและต้องสอดคล้องกับสิ่งใด

ก.  วัตถุประสงค์ของการพัฒนา                        ข.  เป้าหมายสูงสุดของการพัฒนา

ค.  สภาพวิถีชีวิตของสังคมไทย                        ง.  ประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนา

ตอบ    ค.  สภาพวิถีชีวิตของสังคมไทย      



12. ต้องเสริมสร้างศีลธรรมในจิตใจของคนในชาติในทุกภาคส่วนและทุกระดับเช่นใดในการขับเคลื่อนกระบวนการพัฒนา

ก.  ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐมีสำนึกในคุณภาพ

ข.  ให้นักวิชาการของสังคมไทยมีจริยธรรม

ค. 
ให้นักธุรกิจเอกชนมีความซื่อสัตย์ต่ออาชีพ

ง.  ให้ทุกคนของสังคมไทยสำนึกในคุณธรรม

ตอบ   ง.  ให้ทุกคนของสังคมไทยสำนึกในคุณธรรม



13. นอกจากสังคมไทยมีจริยธรรมคุณธรรมและความซื่อสัตย์ในการปฏิบัติหน้าที่แล้วต้องการดำเนินชีวิตเช่นใด

ก.  ประหยัด  อดออม                                           ข.  มีความขยัน 
ความเพียร

ค.  มีความอดกลั้น  อดทน                                  ง.  ประหยัด 
และ อดทน

ตอบ     ข.  มีความขยัน 
ความเพียร



14. ภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีให้พร้อมเผชิญต่อการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในระดับ
ครอบครัว  ชุมชน  สังคม 
และประเทศชาติ 
ความหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหมายถึงสิ่งใด

ก.  ความรู้ในการพัฒนาด้านต่างๆ

ข.  ความรอบคอบระมัดระวังในกระบวนทรรศน์

ค.  คุณธรรมและการดำเนินชีวิตด้วยความเพียร

ง.  จริยธรรม  ความซื่อสัตย์และการใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย

ตอบ     ค. 
คุณธรรมและการดำเนินชีวิตด้วยความเพียร



15. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  แนวทางการดำรงอยู่การปฏิบัติตนในครอบครัว  ชุมชน 
ในการพัฒนาและการบริหารประเทศถือว่าเป็นสิ่งใด

ก.  แนวคิด                                                             ข.  หลักการ

ค.  เงื่อนไข                                                            ง.  เป้าประสงค์

ตอบ     ก. 
แนวคิด



16. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ข้อใดถือว่าเป็นหลักของปรัชญา

ก.  ทางสายกลางในการพัฒนา  บริหารประเทศ

ข.  ความพอประมาณ  มีเหตุผลและมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี

ค.  ความรอบรู้  คุณธรรมและความเพียร

ง.  สร้างสมดุล  มั่นคง 
เป็นธรรมและยั่งยืน

ตอบ     ข. 
ความพอประมาณ  มีเหตุผลและมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี



17. กระบวนการทรรศน์การพัฒนาแบบบูรณาการแบบองค์รวม  ยึดสิ่งใดเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา

ก.  ยึดภาคราชการเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา

ข. 
ยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา

ค.  ยึดคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา

ง.  ยึดความสุขและคุณภาพชีวิต  เป็นศูนย์กลางการพัฒนา

ตอบ     ค. 
ยึดคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา



18. การพัฒนาแบบบูรณาการการเชื่อมโยงทุกมิติของการพัฒนาเป็นองค์รวม  ต้องยึดหลักการใดในการพัฒนา

ก. ยึดหลักการพัฒนาจากบนลงล่าง

ข.  ยึดหลัก “ภูมิสังคม”

ค.  ยึดหลักการพึ่งตนเองให้มากที่สุด

ง.  ยึดหลัก “ภูมิชุมชนท้องถิ่น”

ตอบ     ข. 
ยึดหลัก “ภูมิสังคม”



19. การพัฒนาที่เอาคนเป็นตัวตั้งโดยคำนึงถึงทุกมิติของทุนค่าความเป็นคน
แล้วยังต้องคำนึงถึงสิ่งใด

ก.  การมีส่วนร่วมของประชาชน

ข.  การมีส่วนร่วมของชุมชนดั้งเดิม

ค.  การอยู่ร่วมกันโดยสันติสุข ระหว่าง
คนกับคน   และธรรมชาติสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน

ง. 
การอยู่ร่วมกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เป็นมิตร

ตอบ     ค. 
การอยู่ร่วมกันโดยสันติสุข ระหว่าง คนกับคน   และธรรมชาติสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน



20. การเริ่มพัฒนา
ตามลำดับขั้นด้านการพึ่งพาตนเอง-รวมกลุ่ม-สร้างเครือข่าย-เชื่อมสู่ภายนอก เกิดจากการปรับตัวตามกระบวนการทรรศ์ที่ปรับเปลี่ยนในข้อใด

ก. 
ปรับจากมุ่งพัฒนาเศรษฐกิจฐานรอกไปสู่คนเป็นศูนย์กลาง

ข.  ปรับจากวิถีคิดแยกสัดส่วนรายสาขา  สู่องค์รวมบูรณาการ

ค. 
ปรับจากกระบวนการพัฒนาจากบนลงล่างสู่กระบวนการพัฒนาจากล่างขึ้นบน

ง.  ปรับจากผลประโยชน์ประชาชนสู่การมีส่วนร่วมของประชาชน


จำหน่ายเอกสารเเนวข้อสอบนักวิชาการส่งเสริมการลงทุนปฏิบัติการ (BOI) ใหม่ล่าสุด

รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ

แนวข้อสอบ ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมการลงทุน

แนวข้อสอบเศรษฐกิจและสังคม

แนวข้อสอบการใช้ภาษาอังกฤษ

 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ต่ออุตสาหกรรมไทย
- พรบ. ส่งเสริมการลงทุน
- อธิบายเหตุผลของการรวมกลุ่มกัน ขอโอเปค อาฟต้า และเอเชี่ยนบวกสาม
- สถานการณ์เศรษฐกิจของไทยในปัจจุบัน


สนใจสั่งซื้อมาที่ 080-604-2510 ,080-604-2504 หรือ ส่ง SMS / (WhatsApp , LINE)
ส่งเป็นไฟล์เอกสารส่งทางอีเมล์ สามารถนำไปปริ้นเพื่ออ่านได้เลย ในราคาเพียงชุดละ 399 บาท
ส่งเป็นไฟล์เอกสารทางอีเมล์ *อย่างด่วนภายใน 3 ชม. *อย่างช้าก่อน 24:00 น. ของวันที่โอนเงิน (อย่าลืม! เช็คที่ อีเมลขยะ)
(เปิดบริการทุกวัน เวลา 8.00 - 24.00 น.)
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
ธ.กสิกรไทย ออมทรัพย์ สาขาถนนสาธุประดิษฐ์ เลขที่บัญชี 041-2-34899-2 ชื่อบัญชี สายรุ้ง สิงห์ศรี
โอนเงินแล้วแจ้งที่
lookmoo_00@hotmail.com


จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   0934903924
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

1. คำขอรับการส่งเสริมมีกี่ประเภท และประเภทใดบ้าง

ตอบ คำขอรับการส่งเสริมมี 3 ประเภท ดังนี้

1. คำขอรับการส่งเสริมสำหรับกิจการทั่วไป (F PA PP 01)

2. คำขอรับการส่งเสริมสำหรับกิจการบริการ (F PA PP 03)

3. คำขอรับการส่งเสริมสำหรับกิจการประเภท 5.8 กิจการซอฟต์แวร์ และ 5.9 กิจการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (F PA PP 04)

นอกจากนั้นยังมีคำขอรับการส่งเสริมสำหรับการโยกย้ายสถานประกอบการ (F PA PP 02) สำหรับโครงการโยกย้ายสถานประกอบการ

2. การโอน ควบ หรือรวมกิจการ ใช้คำขอรับการส่งเสริมประเภทใด

ตอบ ไม่มีคำขอเฉพาะสำหรับกรณีการโอน ควบ หรือรวมกิจการ ผู้ขอสามารถใช้คำขอรับการส่งเสริมตามข้อ 1. ตามประเภทของกิจการที่โอน ควบ หรือรวม

3. ผู้ประสงค์จะขอรับการส่งเสริมการลงทุนสามารถขอรับคำขอรับการส่งเสริมได้จากที่ใดบ้าง

ตอบ สามารถขอรับคำขอรับการส่งเสริมได้จากศูนย์บริการลงทุน ศูนย์เศรษฐกิจการลงทุนภาคที่1-7 และสำนักงานเศรษฐกิจการลงทุนในต่างประเทศ หรือจะ download คำขอจากเว็บไซต์[url]www.boi.go.th[/url] (หัวข้อบริการออนไลน์ >ดาวน์โหลด > แบบฟอร์ม) หรือกรอกคำขอผ่านระบบคำขอออนไลน์ผ่านทางเว็บไซต์ได้เช่นกัน (หัวข้อบริการออนไลน์ > บริการออนไลน์ > คำขอรับการส่งเสริมฯออนไลน์)

4. การยื่นคำขอรับการส่งเสริม สามารถยื่นได้ที่ใดบ้าง

ตอบ สามารถยื่นคำขอได้ที่สำนักบริหารการลงทุน 1-4 ตามประเภทกิจการที่เกี่ยวข้อง ดังนี้

สำนักบริหารการลงทุน 1 ดูแลกิจการเกษตรและผลิตผลจากการเกษตร และอุตสาหกรรมเบา  สำนักบริหารการลงทุน 2 ดูแลกิจการเหมืองแร่ เซรามิกส์ ผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องจักร และยานพาหนะ 

สำนักบริหารการลงทุน 3 ดูแลกิจการอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้า

สำนักบริหารการลงทุน 4 ดูแลกิจการ เคมีภัณฑ์ กระดาษ พลาสติก กิจการบริการและสาธารณูปโภคนอกจากนั้นยังสามารถยื่นคำขอได้ที่ศูนย์เศรษฐกิจการลงทุนภาคที่ 1-7 สำนักงานเศรษฐกิจการลงทุนในต่างประเทศ และยื่นคำขอออนไลน์ได้อีกด้วย

5. การขอรับการส่งเสริมจำเป็นจะต้องจัดตั้งบริษัทขึ้นก่อนหรือไม่

ตอบ ไม่จำเป็น การขอรับการส่งเสริมกระทำได้ในนามของบุคคล หรือในนามบริษัท สหกรณ์ หรือมูลนิธิ การขอรับการส่งเสริมในนามบุคคลนั้น บุคคลที่ขอจะเป็นผู้มีสัญชาติไทยหรือต่างชาติก็ได้ แต่ต้องบรรลุนิติภาวะและสามารถทำนิติกรรมได้ตามกฎหมาย และเมื่อได้รับการอนุมัติให้การส่งเสริมแล้ว ผู้ขอจะต้องไปจัดตั้งบริษัทให้แล้วเสร็จก่อน จึงจะยื่นขอออกบัตรส่งเสริมได้ ไม่สามารถใช้บริษัทที่มีอยู่แล้วมาขอรับบัตรส่งเสริมแทน

6. ผู้ขอรับการส่งเสริม (ในแบบคำขอข้อ 1.1) และตัวแทนสำหรับติดต่อเกี่ยวกับการขอรับการส่งเสริม(ในแบบคำขอข้อ 1.2) แตกต่างกันอย่างไร

ตอบ ผู้ขอรับการส่งเสริมจะต้องเป็นผู้ที่มีอำนาจกระทำการในนามบริษัทนั้นๆตามที่ระบุไว้ในหนังสือรับรองของกระทรวงพาณิชย์ ส่วนตัวแทนสำหรับติดต่อเกี่ยวกับการขอรับการส่งเสริมหมายถึงตัวแทนที่มีภูมิลำเนาอยู่ในประเทศไทย มีที่อยู่สามารถติดต่อได้สะดวก ทำหน้าที่เป็นผู้ติดต่อขอรับการส่งเสริมสำหรับโครงการนี้ สามารถให้ข้อมูลรายละเอียดต่างๆของโครงการได้ ผู้ขอรับการส่งเสริมและตัวแทนสำหรับติดต่อขอรับการส่งเสริมอาจจะเป็นบุคคลเดียวกันก็ได้

7. หากกรรมการผู้มีอำนาจของบริษัทไม่ได้เป็นผู้ขอรับการส่งเสริมเอง แต่จะใช้วิธีมอบอำนาจให้บุคคลอื่นกระทำการแทน สามารถกระทำได้หรือไม่

ตอบ สามารถทำได้ โดยจะต้องแนบหนังสือมอบอำนาจมาด้วย

8. หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการยื่นคำขอรับการส่งเสริมหรือการกรอกคำขอรับการส่งเสริม สามารถสอบถามได้ที่ใด

ตอบ สามารถสอบถามได้ที่ศูนย์บริการลงทุน โทร. 0 2537 8111 ต่อ 1101-8 หรืออีเมล์head@boi.go.th

9. การขอรับการส่งเสริมการลงทุน มีค่าธรรมเนียมหรือไม่

ตอบ การขอรับการส่งเสริมการลงทุน การขอรับการปรึกษา หรือการติดต่อกับบีโอไอ ไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆทั้งสิ้น

10. เมื่อได้รับคำขอรับการส่งเสริมจากศูนย์บริการลงทุนมาแล้ว คำขอจะมีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ผู้ขอจำเป็นจะต้องกรอกข้อมูลทั้งสองภาษาหรือไม่

ตอบ ให้กรอกข้อมูลภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษก็ได้ ไม่จำเป็นต้องกรอกทั้งสองภาษา

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   0934903924
รายละเอียดไฟล์แนบ
กล่องตอบกลับด่วน

สามารถอัพโหลดไฟล์แนบ สำหรับโพสได้
กด "Ctrl+Enter" เพื่อตั้งกระทู้ได้