- แผนพัฒนาฯ ฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่เท่าไร ที่เป็นจุดเปลี่ยนสำคัญของการวางแผนประเทศไทย
ก. แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1-7 ข. แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8
ค. แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 ง. แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10
(ง. แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10)
- แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 อยู่ในช่วงใด
ก. พ.ศ. 2536-2540 ข. พ.ศ. 2540-2544
ค. พ.ศ. 2544-2548 ง. พ.ศ. 2550-2554
(ง. พ.ศ. 2550-2554)
- แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 มีหลักในการพัฒนาอย่างไร
ก. พัฒนาแบบแยกส่วน
ข. พัฒนาประชากรให้มีคุณภาพ
ค. พัฒนาคนและสังคม
ง. พัฒนาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมที่เสื่อมโทรม
(ข. พัฒนาประชากรให้มีคุณภาพ)
- แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 ปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศ์การพัฒนาใหม่ที่เน้นส่วนใดเป็นศูนย์กลาง ในการพัฒนา
ก. คน ข. เศรษฐกิจ
ค. ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ง. คนและสังคม
(ก. คน)
- กระบวนทรรศ์การพัฒนาจากแบบแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 มีพื้นฐานมาจากแนวทางการพัฒนาใด
ก. แนวทางการใช้แผนพัฒนาฯ ฉบับก่อน
ข. แนวทางการพัฒนาไม่สมดุล
ค. แนวทางการพัฒนาคนและสังคม
ง. แนวทางการพัฒนาจากพระราชดำริ
(ง. แนวทางการพัฒนาจากพระราชดำริ)
- แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 ในปีแรกต้องเผชิญกับวิกฤตใดอย่างรุนแรง
ก. เศรษฐกิจ ข. เสถียรภาพและความมั่นคง
ค. สังคม ง. สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
(ก. เศรษฐกิจ)
- แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 นำไปสู่การสร้างแนวคิดพื้นฐานในการจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. ใด
ก. พ.ศ. 2534 ข. พ.ศ. 2540
ค. พ.ศ. 2549 ง. พ.ศ. 2550
(ง. ปี พ.ศ. 2550)
- ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ผลกระทบจากวิกฤติในปีแรกของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10
ก. คนว่างงาน ข. ความยากจน
ค. คนและสังคม ง. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
( ง. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม)
- ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่เหตุผลในกาปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศ์การพัฒนาใหม่ในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10
ก. การพัฒนาคนและสังคมเป็นไปได้ช้า
ข. การพัฒนาไม่สมดุลและไม่ยั่งยืน
ค. การฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เสื่อมโทรมเป็นไปได้ช้า
ง. การพัฒนาเสถียรภาพและความมั่นคงเป็นไปได้ช้า
(ข. การพัฒนาไม่สมดุลและไม่ยั่งยืน)
- แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 จะอยู่ในช่วงใด
ก. พ.ศ. 2540-2545 ข. พ.ศ. 2545-2550
ค. พ.ศ. 2550-2554 ง. พ.ศ. 2555-2560
(แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 อยู่ในช่วง ง. พ.ศ. 2555-2560)
- ข้อใดไม่ใช่วิธีการแก้ปัญหาในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9
ก. สร้างเศรษฐกิจภายในประเทศให้เข้มแข็ง
ข. สามารถพึ่งตนเองได้มากขึ้นเพื่อให้เศรษฐกิจขยายตัว
ค. มุ่งพัฒนาที่สมดุลทั้งด้านตัวคน เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม
ง. ฟื้นฟูเศรษฐกิจให้มีเสถียรภาพและความมั่นคง
(ง. ฟื้นฟูเศรษฐกิจให้มีเสถียรภาพและความมั่นคง)
- ระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 เศรษฐกิจของประเทศไทยมีเสถียรภาพและขยายตัวในอัตราเฉลี่ย ร้อยละเท่าใดต่อปี
ก. ร้อยละ 3.7 ข. ร้อยละ 4.7
ค. ร้อยละ 5.7 ง. ร้อยละ 6.7
(ค. ร้อยละ 5.7)
- รายได้เฉลี่ยต่อหัวรวมในปี พ.ศ. 2553 เป็นเท่าใด
ก. 56.3 พันล้านบาท ข. 66.3 พันล้านบาท
ค. 76.3 พันล้านบาท ง. 86.3 พันล้านบาท
(ง. 86.3 พันล้านบาท)
- ระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 เสถียรภาพทางเศรษฐกิจมั่นคงโดยอัตราเงินเฟ้อเฉลี่ยต่ำที่ร้อยละเท่าใด
ก. ร้อยละ 1.0 ข. ร้อยละ 2.0
ค. ร้อยละ 3.0 ง. ร้อยละ 4.0
(ค. ร้อยละ 3.0)
- ระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 การขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจของไทยพึ่งพาทางใดน้อยที่สุด
ก. วัตถุดิบและค่าแรงราคาถูก ข. การใช้ทรัพยากรที่เข้มแข็ง
ค. ความต้องการในตลาดส่งออก ง. เทคโนโลยี
(ง. เทคโนโลยี)
- แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 ประเด็นปัญหาที่ให้ความสำคัญต่อเนื่องได้แก่ ประเด็นใด
ก. พัฒนาคุณภาพคน
ข. แก้ปัญหาความยากจนและความเลื่อมล้ำทางรายได้
ค. การบริหารจัดการภาครัฐในเรื่องความโปร่งใส
ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
(ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา)
- แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 ทำให้คนไทยมีหลักประกันคุณภาพคิดเป็นร้อยละเท่าใด
ก. ร้อยละ 66.3 ข. ร้อยละ 76.3
ค. ร้อยละ 86.3 ง. ร้อยละ 96.3
(ง. ร้อยละ 96.3 )
- ช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 ผลการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใด เพิ่มสูงขึ้นกว่าเป้าหมาย
ก. ป่าชายเลน ข. ดิน
ค. การลดมลพิษ ง. แหล่งน้ำเสื่อมโทรม
(ก. ป่าชายเลน)
- ช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับใดที่ได้อัญเชิญ “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” มาเป็นปรัชญาทางการพัฒนาประเทศ
ก. ฉบับที่ 7 ข. ฉบับที่ 8
ค. ฉบับที่ 9 ง. ฉบับที่ 10
(ค. ฉบับที่ 9)
- ช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 มุ่งเน้นในเรื่องใด
ก. เตรียมความพร้อมสำหรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต ปรับตัว แสวงหาผลประโยชน์ สร้างภูมิคุ้มกันให้กับทุกภาคส่วนตาม “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”
ข. การแก้ไขปัญหาจากวิกฤตเศรษฐกิจและสร้างรากฐานที่เข้มแข็ง
ค. ปรัชญาทำทางการพัฒนาประเทศควบคู่กับการพัฒนาแบบบูรณาการณ์เป็นองค์รวม
ง. การพัฒนาคนและสังคม ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
(ก. เตรียมความพร้อมสำหรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต ปรับตัว แสวงหาผลประโยชน์ สร้างภูมิคุ้มกันให้กับทุกภาคส่วนตาม “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง) - บริบทใดต่อไปนี้ไม่ใช่บริบททางการเปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อการพัฒนาในอนาคต
ก. การเคลื่อนย้ายคนอย่างเสรี
ข. การเปลี่ยนแปลงด้านสังคม
ค. การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด
ง. การพัฒนาคนระดับกลาง
(ง. การพัฒนาคนระดับกลาง)
- ตัวจักรใหม่ที่สำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจโลกอยู่ในทวีปใด
ก. ยุโรป ข. เอเชีย
ค. อเมริกา ง. ออสเตรเลีย
(ข. เอเชีย)
- ในอดีตผู้นำการค้าโลกได้แกประเทศใด
ก. อเมริกา ข. อังกฤษ
ค. ฝรั่งเศส ง. เยอรมัน
(ก. อเมริกา)
- ข้อใดไม่ใช่ภัยคุกคามทางเศรษฐกิจที่แต่ละประเทศต้องเผชิญ
ก. การขยายตัวของตลาดการเงิน ข. พัฒนาการเครื่องมือทางการเงินใหม่ๆ
ค. ธุรกิจกองทุนบริหารความเสี่ยงขยายตัว ง. ความผันผวนของตลาดน้ำมัน
(ง. ความผันผวนของตลาดน้ำมัน)
- ข้อใดเป็นกลุ่มประเทศการค้าที่ไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด
ก. UNTAD ข. ASEM
ค. ASEAN ง. APEC
(ก. UNTAD)
- ข้อใดไม่ใช่การสร้างความเข้มแข็งของโครงสร้างเศรษฐกิจของไทย
ก. พัฒนาคุณภาพคน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ข. เพิ่มผลิตภาพการผลิต
ค. เพิ่มคุณค่าและมาตรฐานสินค้าและบริการ
ง. กำหนดกติกาด้านต่างๆ ของโลก
(ง. กำหนดกติกาด้านต่างๆ ของโลก)
- ข้อใดเป็นเทคโนโลยีหลัก
ก. เทคโนโลยีชีวภาพ ข. เทคโนโลยีวัสดุ
ค. นาโนเทคโนโลยี ง. ถูกทุกข้อ
(ง. ถูกทุกข้อ)
- วิธีทำให้เกิดการเพิ่มมูลค่าของสินค้า คือข้อใด
ก. เทคโนโลยี + ภูมิปัญญาท้องถิ่น + นวัตกรรม
ข. เทคโนโลยี + ความคิดสร้างสรรค์ + ความรู้ที่เหมาะสม
ค. เทคโนโลยี + เครื่องจักร + เงินทุน
ง. เครื่องจักร + แรงงาน + เงินทุน
(ก. เทคโนโลยี + ภูมิปัญญาท้องถิ่น + นวัตกรรม)
- สินค้าใดในการผลิตแตกต่างไปจากพวก
ก. เสื้อผ้า ข. สินค้าอุปโภค บริโภค
ค. อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ง. ผลิตภัณฑ์รถยนต์
(ง. ผลิตภัณฑ์รถยนต์)
- การเตรียมความพร้อมให้เท่าทันกับความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีในอนาคตควรปฏิบัติอย่างไร
ก. พัฒนาและสร้างองค์ความรู้ ข. ประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
ค. บริหารจัดการองค์ความรู้อย่างเป็นระบบ ง. ถูกทุกข้อ
(ง. ถูกทุกข้อ)
- ข้อใดไม่ใช่การสร้างคุณค่าเพิ่มให้กับสินค้าและบริการ
ก. คุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา
ข. แบ่งผลประโยชน์เป็นธรรม
ค. สร้างนวัตกรรมและผลักดันให้ใช้ประโยชน์
ง. เปลี่ยนแปลงวิธีผลิต
(ง. เปลี่ยนแปลงวิธีผลิต)
- ตัวจักรใหม่ที่สำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจโลก ได้แก่
ก. จีน อินเดีย ข. จีน ญี่ปุ่น
ค. เกาหลี ญี่ปุ่น ง. เกาหลี สิงคโปร์
(ก. จีน อินเดีย)
- ประชากรของประเทศที่พัฒนาแล้วเข้าสู่สังคมใด
ก. สังคมผู้สูงอายุ ข. สังคมเด็ก
ค. สังคมวัยผู้ใหญ่ ง. สังคมวัยรุ่น
(ก. สังคมผู้สูงอายุ)
- ประชากรของประเทศที่พัฒนาแล้วส่งผลกระทบต่อด้านใด
ก. การออมและความมั่งคั่งลดลง
ข. ผลิตภาพแรงงานเพิ่มขึ้นในอัตราต่ำ
ค. ค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขเพิ่มขึ้น
ง. ถูกทุกข้อ
(ง. ถูกทุกข้อ)
- ข้อใดไม่ใช่ผลดีของประเทศไทยที่เป็นประเทศที่กำลังพัฒนา
ก. ขยายตลาดสินค้าเพื่อสุขภาพ ข. ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ค. สถานที่ท่องเที่ยว ง. การเคลื่อนย้ายแรงงาน
(ง. การเคลื่อนย้ายแรงงาน)
- ข้อใดไม่ใช่ผลจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ก. การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ข. เผยแพร่วัฒนธรรม
ค. การสร้างโอกาสและปัญญา ง. สร้างสถานที่ท่องเที่ยว
(ง. สร้างสถานที่ท่องเที่ยว)
- ข้อใดไม่ใช่ผลดีของกระแสนิยมตะวันตก
ก. การพัฒนาสินค้า ข. การเคลื่อนย้ายแรงงาน
ค. ให้ความสำคัญต่อสุขภาพ ง. ดูแลทรัพยากรธรรมชาติ
(ข. การเคลื่อนย้ายแรงงาน) - การแพร่ขยายของวัฒนธรรมต่างชาติมีผลอย่างไร
ก. วัฒนธรรมดั่งเดิมเสื่อมถอย
ข. ประชาชนในเขตเมืองแพร่ขยายอย่างรวดเร็ว
ค. รูปแบบการบริโภคผิดไป
ง. ถูกทุกข้อ
(ง. ถูกทุกข้อ)
- ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ปัญหาข้างต้นของแผนพัฒนาฉบับที่ 10 ต้องเผชิญ
ก. ราคาน้ำมัน ข. ภาวะเงินเฟ้อ
ค. เศรษฐกิจ ง. ข้อ ก. และ ข.
(ค. เศรษฐกิจ)
- การเคลื่อนย้ายคนระหว่างประเทศในอนาคตที่สำคัญมีกี่ปัจจัย
ก. 1 ข. 2
ค. 3 ง. 4
(ข. 2)
- กลุ่มประเทศที่เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุคือกลุ่มประเทศใด
ก. สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น เกาหลี ข. สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น สิงคโปร์
ค. สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น เวียดนาม ง. สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น จีน
(ก. สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น เกาหลี)
- ประเทศใดที่ใช้กลยุทธ์ ในการเจริญเติบโตโดยมีคนที่มีความสามารถจากที่ต่างๆ ทั่วโลกเข้าไปทำงาน
ก. สหรัฐอเมริกา ข. อังกฤษ
ค. จีน ง. เกาหลี
(ก. สหรัฐอเมริกา)
- ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยการเคลื่อนย้ายของคนระหว่างประเทศ
ก. ประเทศที่เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ
ข. ความต้องการแรงงานจากต่างประเทศมากขึ้น
ค. ส่งเสริมให้ผู้มีประสบการณ์และมีความรู้มาทำงาน
ง. การระบาดของโรคพันธุกรรมใหม่
(ง. การระบาดของโรคพันธุกรรมใหม่)
- ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยที่ทำให้การเคลื่อนย้ายของคนอย่างเสรีลดลง
ก. เพิ่มมาตรการตรวจรับและคัดเลือกคนเข้าประเทศ
ข. รับเฉพาะคนต่างชาติบางกลุ่มหรือบางเชื้อชาติ
ค. ปัญหาโรคระบาด
ง. คนในประเทศเข้สู่สังคมผู้สูงอายุ
(ง. คนในประเทศเข้สู่สังคมผู้สูงอายุ)
- ข้อใดไม่ใช่ปัญหาในการเคลื่อนย้ายของคนอย่างเสรี
ก. ปัญหาโรคระบาด ข. การก่อการร้ายสากล
ค. ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ง. เศรษฐกิจดี
(ง. เศรษฐกิจดี)
- ปรากฏการณ์ใดที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศและอุณหภูมิโลก
ก. ภาวะเรือนกระจก ข. การสูญเสียชั้นโอโซน
ค. แหล่งน้ำดิบขาดแคลน ง. ถูกทุกข้อ
(ง. ถูกทุกข้อ)
- ประเทศไทยเข้าเป็นสมาชิกการต่อต้านการเปลี่ยนแปลงทางทะเลทรายเมื่อใด
ก. 9 พฤศจิกายน 2536 ข. 9 พฤศจิกายน 2537
ค. 9 พฤศจิกายน 2538 ง. 9 พฤศจิกายน 2539
(ง. 9 พฤศจิกายน 2539)
- ประเทศไทยลงนามรับรองอนุสัญญาว่าเป็นความหลากหลายทางชีวภาพ ณ ที่ใด
ก. กรุงปักกิ่ง ข. กรุงริโอ เดอ จาเนโร
ค. กรุงโซล ง. กรุงอาบูจา
(ข. กรุงริโอ เดอ จาเนโร)
- ประเทศไทยปฏิบัติตนขัดกับอนุสัญญาฯ ฉบับใดจนถูกพิจารณาลงโทษจากกลุ่มภาคีด้วยกัน
ก. อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดพันธ์สัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธ์
ข. อนุสัญญาว่าด้วยการต่อต้านการแปรสภาพเป็นทะเลทราย
ค. อนุสัญญาว่าด้วยการอนุรักษ์พื้นที่ชุ่มน้ำ
ง. อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ
(อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดพันธ์สัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธ์) - อนุสัญญาบาเซลว่าด้วยเรื่องใด
ก. การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ข. การควบคุมการเคลื่อนย้ายและกำจัดของเสียอันตรายข้ามแดน
ค. สารพิษตกค้างยาวนาน
ง. ความหลากหลายทางชีวภาพ
(ข. การควบคุมการเคลื่อนย้ายและกำจัดของเสียอันตรายข้ามแดน)
สนใจสั่งซื้อมาที่ 080-604-2510 ,080-604-2504 หรือ ส่ง SMS / (WhatsApp , LINE)
ส่งเป็นไฟล์เอกสารส่งทางอีเมล์ สามารถนำไปปริ้นเพื่ออ่านได้เลย ในราคาเพียงชุดละ 399 บาท
ส่งเป็นไฟล์เอกสารทางอีเมล์ *อย่างด่วนภายใน 3 ชม. *อย่างช้าก่อน 24:00 น. ของวันที่โอนเงิน (อย่าลืม! เช็คที่ อีเมลขยะ)
(เปิดบริการทุกวัน เวลา 8.00 - 24.00 น.)
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 041-2-34899-2 ธ.กสิกรไทย ออมทรัพย์ สาขาถนนสาธุประดิษฐ์ ชื่อบัญชี สายรุ้ง สิงห์ศรี
โอนเงินแล้วแจ้งที่ lookmoo_00@hotmail.com