ประยุกต์ใช้ โพสล่าสุด โพสสำคัญ เครื่องมือ สมาชิก สถิติฟอรั่ม ธนาคาร
หัวข้อ : แนวข้อสอบเจ้าหน้าที่ป้องกันและบรรเทาสาธารณะภัย
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

แนวข้อสอบเจ้าหน้าที่ป้องกันและบรรเทาสาธารณะภัย

1. ข้อใดหมายถึง จุดหรืออุณหภูมิต่ำสุดที่ไอระเหยของของเหลวผสมกับอากาศจะสามารถเกิดการลุกไหม้ หลังจากมีการติดไฟ

 . จุดติดไฟ        . จุดวาบไฟ

 . จุดระเบิด       . ของเหลวติดไฟ

 . การเดือดปะทุ

 

2. องค์ประกอบหลักของการติดไฟได้แก่ข้อใด

 . ความร้อน และเชื้อเพลิง

 . เชื้อเพลิง และออกซิเจน

 . ออกซิเจน และความร้อน

 . สารติดไฟ เชื้อเพลิง และความร้อน

. ความร้อน เชื้อเพลิง และออกซิเจน

 

3. ไฟชนิดใดเกิดจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงประเภทของเหลว เช่น น้ำมันเบนซิน

 . ชนิด เอ       . ชนิด บี     . ชนิด ซี    . ชนิด ดี      . ชนิด อี

 

4. การป้องกันโดยมีการตรวจจับควันไฟ ความร้อน หรืออื่นๆ เพื่อส่งสัญญาณที่ตรวจจับได้ให้กับอุปกรณ์ ควบคุมเพื่อท่าการสั่งงานให้ระบบระงับอัคคีภัยท่างาน เป็นการป้องกันอัคคีภัยแบบใด

 . การป้องกันเชิงก่าจัด

. การป้องกันเชิงสัญญาณ

. การป้องกันเชิงรุก

. การป้องกันเชิงรับ

 . การป้องกันเชิงพื้นที

 

5. การจัดพื้นที่ครอบครองเพื่อใช้ในการจัดระบบป้องกันควบคุมอัคคีภัยนั้น ข้อใดจัดเป็นพื้นที่ครอบครอง ประเภทที่ 3

. ส่านักงาน                                 . โรงแรม  

 . โรงกลั่นน้ำมันโรงงานทอผ้า ง. โรงงานทอผ้า          . โรงงานผลิตไม้ขีดไฟ

 

6. ถังดับเพลิงแบบโฟม สามารถใช้ดับไฟชนิดใด

 . ชนิด ก (Class A)            . ชนิด ข (Class B)

 . ชนิด ค (Class C)           . ข้อ ก และ  ข ถูก

 . ข้อ ข และ ค ถูก

 

7. ระบบหัวกระจายน้ำดับเพลิงในข้อใด เป็นระบบที่น้ำจะไหลผ่านหัวกระจายน้ำดับเพลิงทุกหัว ท่าให้มี ปริมาณน้ำในการดับเพลิงสูงกว่าระบบอื่นๆ

 . ระบบเปิด            . ระบบท่อแห้ง

 . ระบบท่อเปียก      . ระบบก๊าซเฉื่อย

. ระบบหน่วงการท่างาน

8. กรณีเนื้อที่อาคาร เกิน 250 ตารางเมตรแต่ไม่เกิน 500 ตารางเมตร และไม่มีท่อน้ำดับเพลิงของทางราชการ ต้องจัดเตรียมน้ำส่ารองในปริมาณเท่าใด

 . 5,000 ลิตร     . 7,500 ลิตร

. 10,000 ลิตร     . 15,000 ลิตร       . 2,5000 ลิตร

 

9. อุปกรณ์ตรวจจับควันไฟ เป็นส่วนประกอบใดของระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้

. อุปกรณ์เริ่มต้น               . อุปกรณ์แจ้งเตือน

. แหล่งจ่ายก่าลังไฟฟ้า      . แผงควบคุม

. อุปกรณ์ประกอบ

10. ปัจจัยที่มีผลต่อความรุนแรงของการระเบิดของฝุ่นละอองขนาดเล็ก ได้แก่ข้อใด

 . ขนาดและปริมาณของฝุ่นละออง            . สภาพความปั่นป่วนในระบบ

. สภาพความชื้นในบรรยากาศ                     . ข้อ ก และ ข ถูก จ. ข้อ ก ข และ ค ถูก

 

เฉลย 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

 

10. ข้อใดไม่ใช่ คณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ (กปภ.ช.)

                ก)  ผู้บัญชาการทหารสูงสุด                                              

             ข)  ปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

                ค)  ข้าราชการกรมป้องกันฯ ที่อธิบดี ปภ. แต่งตั้ง         

             ง)  ผู้มีความรู้หรือประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการผังเมืองและการป้องกันและบรรเทาสาธารณ ภัยที่  ครม. แต่งตั้ง

 

11. ข้อใดกล่าวถูกต้องสำหรับทรัพย์สินที่เสียหายจากการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

ก)  ต้องชดเชยความเสียหายแก่ผู้ได้รับประโยชน์จากการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

ข)  ต้องชดเชยความเสียหายแก่ผู้ที่มิใช่ผู้ได้รับประโยชน์จากการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

ค)  ไม่ต้องชดเชยค่าเสียหายแก่ผู้ที่มิใช่ผู้ได้รับประโยชน์จากการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

ง)  ถูกทั้งข้อ ก) และ ค)

               

12. อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยดำรงตำแหน่งใดในคณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ (กปภ.ช.) ตาม พ.ร.บ. ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550

                ก)  ประธานกรรมการ                                         ข)  กรรมการ

                ค)  กรรมการและเลขานุการ                              ง)  ไม่มีข้อใดถูก

 

13.  ผู้ใดเป็นกรรมการในคณะกรรมการจัดทำแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด

                ก)  รองผู้ว่าราชการจังหวัด                                ข)  ผู้บัญชาการมณฑลทหารบก

                ค)  นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด              ง)  ถูกทุกข้อ

 

14.  ข้อใดมิใช่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งพื้นที่

 ตาม พ.ร.บ. ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550  

                ก)  องค์การบริหารส่วนจังหวัด                        ข)  องค์การบริหารส่วนตำบล

                ค)  เทศบาล                                                           ง)  เมืองพัทยา

 

15.  เมื่อเกิดอุทกภัยขึ้นในพื้นที่ ใครมีหน้าที่เข้าดำเนินการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยโดยเร็ว

                ก)  นายก  อบต. ในฐานะผู้อำนวยการท้องถิ่น             ข)  นายก  อบจ.

                ค)  ผู้ว่าราชการจังหวัด                                                       ง)  นายกรัฐมนตรี

16.  ผู้ใดทำหน้าที่เป็นเลขานุการของคณะกรรมการจัดทำแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด

                ก)  นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด              ข)  ปกครองจังหวัด

                ค)  หัวหน้าสำนักงานจังหวัด                            ง)  ผู้แทนกรม ปภ.              

 

17.  ในกรณีที่เจ้าของหรือผู้ครอบครองไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของเจ้าพนักงานที่สั่งให้ขนย้ายทรัพย์สิน ซึ่งเป็นสิ่งที่ทำให้เกิดสาธารณภัยได้ง่ายออกจากอาคารหรือสถานที่ ให้เจ้าพนักงานสามารถขนย้ายทรัพย์สินนั้นได้ตามความจำเป็นแก่การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยโดยเจ้าพนักงานไม่ต้องรับผิดชอบบรรดาความเสียหายอันเกิดจากการกระทำดังกล่าว

                ก)  ใช่                                                                     ข)  ไม่ใช่

 

18. ผู้บริหารท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งพื้นที่ เป็นผู้อำนวยการท้องถิ่น มีหน้าที่อะไร

                ก)  มีหน้าที่ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขตท้องถิ่นของตน

                ข)  มีหน้าที่ช่วยเหลือผู้อำนวยการจังหวัดตามที่ได้รับมอบหมาย

                ค)  มีหน้าที่ช่วยเหลือผู้อำนวยการอำเภอตามที่ได้รับมอบหมาย

                ง)  ถูกทุกข้อ

 

19. กรณีเกิดสาธารณภัยร้ายแรงอย่างยิ่ง ผู้ใดมีอำนาจสั่งการทั้งฝ่ายพลเรือนและฝ่ายทหาร

                ก)  นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมาย

                ข)  รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยหรือรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย

                ค)  ปลัดกระทรวงมหาดไทยหรือรองปลัดกระทรวงมหาดไทย

                ง)  นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

20.  ตาม พ.ร.บ. ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 ผู้ใดมิได้เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลอาญา

                ก)  รองผู้อำนวยการ                                            ข)  ผู้ช่วยผู้อำนวยการ

                ค)  เจ้าพนักงาน                                                   ง)  อาสาสมัคร

 

21.  แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของหน่วยงานของท่าน ตาม พ.ร.บ. ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550  กำหนดให้มีการปรับปรุงหรือทบทวนแผนเมื่อใด

ก)  2  ปี                                                                                  ข)  5  ปี                 

ค)  เมื่อสถานการณ์เกี่ยวกับภัยเปลี่ยนแปลงไป             ง)  ข้อ ข) และ ค)

 

22. หน่วยงานหรือบุคคลที่มีหน้าที่จัดทำแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยตาม พ.ร.บ. นี้ ต้องจัดทำแผนให้แล้วเสร็จภายในกำหนดเวลาใดนับแต่วันที่ พ.ร.บ. นี้ใช้บังคับ

                ก)    1 ปี                                 ก)    2  ปี                                  ค)    3 ปี                               ง)    5 ปี

จำหน่ายไฟล์เอกสารแนวข้อสอบเจ้าหน้าที่ป้องกันและบรรเทาสาธารณะภัย

ใหม่ล่าสุดที่กำลังเปิดสอบ สำหรับคนที่ไม่มีเวลาไปติวและเวลาไปหาซื้อหนังสือ
เป็นไฟล์เอกสารส่งทาง e-mail 

ส่งทันทีรวดเร็ว ได้อ่านสอบเร็วไม่ต้องรอ รวบรวมจากหนังสือมากกว่า สิบเล่มและรุ่นพี่ที่สอบได้

รายละเอียดภายในไฟล์ประกอบด้วย

ความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง

- ข้อสอบ พรบ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล 2537

- ข้อสอบงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

- ข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535

- ความรู้เกี่ยวกับหลักสถิติเบื้องต้น

- ความรู้เบื้องต้นและนิยามอุทกภัย วาตภัย และดินถล่ม

- ถามตอบแนวข้อสอบพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

- แนวข้อสอบ  พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร  พ.ศ. ๒๕๒๒

- แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535

- สรุปพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐

สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย  ในราคาเพียงชุดละ   399 บาท
สนใจสั่งซื้อมาที่  decho.by@hotmail.com

ส่งทางอีเมล์เป็นไฟเอกสารกรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ

เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 ธ.กสิกรไทย 

บิ๊กซีขอนแก่น ชื่อบัญชี decho pragay ออมทรัพย์

โอนเงินแล้วโทรแจ้งที่  โทร 085-0127724

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   0934903924
รายละเอียดไฟล์แนบ
กล่องตอบกลับด่วน

กรุณาใช้ข้อความที่สุภาพ คุณสามารถบันทึกฉบับร่างได้
กด "Ctrl+Enter" เพื่อตั้งกระทู้ได้