1. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการพัสดุขององค์การบริหารส่วนตำบลฉบับปีปัจจุบันใช้ พ.ศ. อะไร
1. พ.ศ. 2537 2. พ.ศ. 2538
3. พ.ศ. 2543 4. พ.ศ. 2547
2. ใครเป็นผู้รักษาการตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการพัสดุขององค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2538
1. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย 2. ปลัดกระทรวงมหาดไทย
3. อธิบดีกรมการปกครอง 4. ผู้ว่าราชการจังหวัด
3. ใครเป็นผู้มีอำนาจตีความวินิจฉัย ปัญหา กำหนดกฎเกณฑ์ และวิธีปฏิบัติตามระเบียบในข้อ 38
1. ผู้ว่าราชการจังหวัด 2. อธิบดีกรมการปกครอง
3. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย 4. ปลัดกระทรวงมหาดไทย
4. ปลัดกระทรวงมหาดไทย อาจมอบหมายอำนาจให้ใครได้ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการพัสดุขององค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2538
1. ผู้ว่าราชการจังหวัด 2. นายอำเภอ
3. ปลัดอำเภอ 4. ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล
5. การพัสดุ ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการพัสดุขององค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2538 มีความหมายว่าอย่างไร
1. การจัดทำเอง การควบคุม 2. การซื้อ การจ้าง
3. การจ้างเหมา 4. ถูกทุกข้อ
6. “พัสดุ” ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการพัสดุขององค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2538 มีหมายความว่าอย่างไร
1. วัสดุ 2. ครุภัณฑ์
3. ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง 4. ถูกทุกข้อ
7. เงินงบประมาณตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการพัสดุขององค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2538 มีความหมายว่าอย่างไร
1. งบประมาณรายจ่ายประจำปี 2. งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม
3. เงินกู้หรือเงินช่วยเหลือ 4. ถูกทั้งข้อ 1 และ ข้อ 2
8. เงินนอกงบประมาณ หมายความว่าอย่างไร
1. เงินรายจ่ายที่อยู่นอกเหนือตามรายจ่ายงบประมาณ
2. เงินที่มีผู้อุทิศให้เป็นการเฉพาะเจาะจง
3. เงินอุดหนุนจากรัฐบาล
4. เงินที่ได้มาจากการเก็บภาษีบำรุงท้องที่
9. เงินช่วยเหลือ หมายความว่า เงินที่ได้รับความช่วยเหลือจากที่ใด
1. รัฐบาลต่างประเทศ 2. องค์กรระหว่างประเทศ
3. สถานการเงินระหว่างประเทศ 4. ถูกทุกข้อ
10. เงินสะสม
1. เงินที่เหลือจากรายรับจริง หักด้วยเงินรายจ่ายจริง ณ วันสิ้นปีงบประมาณ
2. เงินที่เหลือเก็บไว้แต่ละปีงบประมาณ
3. เงินดอกเบี้ยเงินฝากจากธนาคารในแต่ละปีงบประมาณ
4. เงินสำรองจ่ายประจำปีงบประมาณ
11. เจ้าหน้าที่พัสดุ หมายถึงใคร
1. กรรมการบริหารที่ได้รับมอบหมาย
2. ประธานกรรมการบริหาร
3. สมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบลที่ได้รับมอบหมาย
4. พนักงานส่วนตำบลหรือข้าราชการอื่นที่ประธานกรรมการบริหารแต่งตั้งหรือมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่หรือปฏิบัติงานเกี่ยวกับพัสดุ
12. ใครเป็นผู้มีอำนาจสั่งซื้อสั่งจ้างในองค์การบริหารส่วนตำบล
1. ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล 2. หัวหน้าส่วนการคลัง
3. หัวหน้าส่วนโยธา 4. ประธานกรรมการบริหาร
13. ใครเป็นผู้มีอำนาจแต่งตั้งผู้ควบคุมรับผิดชอบในการจัดทำพัสดุเอง
1. ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล 2. ผู้ว่าราชการจังหวัด
3. นายกองค์การบริหารส่วนตำบล 4. นายอำเภอ
14. การซื้อหรือการจ้างกระทำได้กี่วิธี
1. 1 2. 4 3. 5 4. 6
15. การซื้อโดยวิธีตกลงราคา คือ การซื้อการจ้างครั้งหนึ่ง ซึ่งมีราคาไม่เกินเท่าใด
1. ไม่เกิน 100,000 บาท 2. ไม่เกิน 200,000 บาท
3. ไม่เกิน 400,000 บาท 4. ไม่เกิน 500,000 บาท
16. การซื้อหรือการจ้างโดยวิธีตกลงราคา จะต้องมีราคาไม่เกินเท่าใด
1. ไม่เกิน 100,000 บาท 2. ไม่เกิน 200,000 บาท
3. ไม่เกิน 400,000 บาท 4. ไม่เกิน 500,000 บาท
17. การซื้อหรือการจ้างโดยวิธีประกวดราคา คือวิธีการจ้างครั้งหนึ่งจะต้องมีราคาไม่เกินเท่าใด
1. ไม่เกิน 100,000 บาท 2. ไม่เกิน 500,000 บาท
3. ไม่เกิน 1,000,000 บาท 4. ไม่เกิน 2,000,000 บาท
18. การซื้อหรือการจ้างโดยวิธีกรณีพิเศษ เป็นการซื้อแบบใด
1. เป็นการซื้อการจ้างจากหน่วยงานเอกชน
2. เป็นการซื้อการจ้างจากรัฐบาลโดยตรง
3. เป็นการซ้อการจ้างจากส่วนราชการหน่วยงานอื่นตามกฎหมาย
4. ผิดทุกข้อ
19. ก่อนการจัดซื้อจัดจ้างทุกครั้งใครเป็นผู้เสนอรายงานเหตุผลและรายละเอียด
1. ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล 2. หัวหน้าส่วนการคลัง
3. หัวหน้าส่วนโยธา 4. เจ้าหน้าที่พัสดุ
20. คณะกรรมการเปิดซองสอบราคาจะต้องมีอย่างน้อยกี่คน
1. 2 2. 3 3. 4 4. 5
21. ข้อใดต่อไปนี้สามารถเป็นคณะกรรมการเปิดซองสอบราคาได้
1. พนักงานส่วนตำบล 2. ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
3. เลขานุการสภาองค์การบริหารส่วนตำบล 4. สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
22. การแต่งตั้งข้าราชการอื่นมาเป็นประธานและกรรมการเปิดซองจะต้องได้รับความเห็นชอบจากใคร
1. นายอำเภอ 2. ผู้ว่าราชการจังหวัด
3. หัวหน้าส่วนราชการนั้น ๆ 4. ประธานกรรมการบริหาร
23. ในการจ้างก่อสร้างแต่ละครั้งใครเป็นผู้แต่งตั้งผู้ควบคุมงาน
1. ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล 2. นายอำเภอ
3. นายกองค์การบริหารส่วนตำบล 4. ผู้ว่าราชการจังหวัด
24. การซื้อโดยวิธีตกลงราคาจะต้องได้รับความเห็นชอบจากใคร
1. ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล 2. นายกองค์การบริหารส่วนตำบล
3. หัวหน้าส่วนการคลัง 4. เจ้าหน้าที่พัสดุ
25. การจัดทำประกาศสอบราคาจะต้องมีสาระสำคัญในข้อใด
1. รายการพัสดุที่ต้องซื้อหรืองานที่ต้องการจ้าง 2. คุณสมบัติของผู้ที่มีสิทธิ์เข้าสอบราคา
3. กำหนดวันเวลา รับซอง เปิดซอง 4. ถูกทุกข้อ
26. ก่อนวันเปิดซองสอบราคาจะต้องไม่น้อยกว่ากี่วัน
1. 10 2. 15 3. 30 4. 45
27. ในการยื่นซองสอบราคาผู้ยื่นซองจะต้องจ่าหน้าซองถึงใคร
1. นายอำเภอ 2. เจ้าหน้าที่พัสดุ
3. ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล 4. นายกองค์การบริหารส่วนตำบล
28. คณะกรรมการเปิดซองสอบราคามีหน้าที่ในข้อใดต่อไปนี้
1. เปิดซองใบเสนอราคา 2. ตรวจสอบคุณสมบัติของผู้เสนอราคา
3. พิจารณาคัดเลือกพัสดุหรืองานจ้างของผู้เสนอราคา 4. ถูกทุกข้อ
29. การจัดทำเอกสารประกวดราคาจะต้องมีสาระสำคัญในข้อใด
1. รายการพัสดุ สถานที่ขอรับซื้อเอกสาร 2. คุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์เข้าประกวดราคา
3. กำหนดวัน เวลารับและเปิดซอง 4. ถูกทุกข้อ
30. นายกองค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจในการสั่งซื้อสั่งจ้างนอกจากกรณีพิเศษและวิธีพิเศษในวงเงินไม่เกินเท่าใด
1. 10 ล้านบาท 2. 20 ล้านบาท
3. 30 ล้านบาท 4. 50 ล้านบาท
31. ผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจสั่งซื้อสั่งจ้าง นอกจากวิธีพิเศษและกรณีพิเศษเกินวงเงินเท่าใดและไม่เกินวงเงินเท่าใด
1. 10 ล้านบาท 2. 20 ล้านบาท
3. 30 ล้านบาท 4. 50 ล้านบาท
32. นายอำเภอมีอำนาจหน้าที่สั่งซื้อสั่งจ้างนอกจากกรณีพิเศษ และวิธีพิเศษเกินวงเงินเท่าใดและไม่เกินวงเงินเท่าใด
1. เกิน 10 ล้าน แต่ไม่เกิน 20 ล้านบาท
2. เกิน 100 ล้าน แต่ไม่เกิน 200 ล้านบาท
3. เกิน 50 ล้าน แต่ไม่เกิน 100 ล้านบาท
4. เกิน 200 ล้านบาทขึ้นไป
33. ผู้ว่าราชการจังหวัด มีอำนาจสั่งซื้อสั่งจ้างนอกจากกรณีพิเศษและวิธีพิเศษในวงเงินเท่าใด
1. เกิน 10 ล้าน แต่ไม่เกิน 20 ล้านบาท
2. เกิน 100 ล้าน แต่ไม่เกิน 200 ล้านบาท
3. เกิน 50 ล้าน แต่ไม่เกิน 100 ล้านบาท
4. เกิน 200 ล้านบาทขึ้นไป
34. นายกองค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจสั่งซื้อสั่งจ้างโดยวิธีพิเศษในวงเงินเท่าใด
1. 5 ล้านบาท 2. 10 ล้านบาท
3. 20 ล้านบาท 4. 30 ล้านบาท
35. ผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบล มีอำนาจสั่งซื้อสั่งจ้างโดยวิธีพิเศษในวงเงินเท่าใด
1. 5 ล้านบาท 2. 10 ล้านบาท
3. 20 ล้านบาท 4. 30 ล้านบาท
36. นายอำเภอมีอำนาจสั่งซื้อสั่งจ้างโดยวิธีพิเศษในวงเงินเท่าใด
1. เกิน 10 ล้าน แต่ไม่เกิน 20 ล้านบาท
2. เกิน 100 ล้าน แต่ไม่เกิน 200 ล้านบาท
3. เกิน 50 ล้าน แต่ไม่เกิน 100 ล้านบาท
4. เกิน 200 ล้านบาทขึ้นไป
37. ผู้ว่าราชการจังหวัดมีอำนาจสั่งซื้อสั่งจ้างโดยวิธีพิเศษในวงเงินเท่าใด
1. เกิน 1 ล้าน แต่ไม่เกิน 5 ล้านบาท
2. เกิน 10 ล้าน แต่ไม่เกิน 20 ล้านบาท
3. เกิน 5 ล้าน แต่ไม่เกิน 10 ล้านบาท
4. เกิน 20 ล้านบาทขึ้นไป
38. ตามปกติผู้รับเหมางานจ้างจะต้องส่งมอบงานจ้างภายในกี่วัน
1. 30 2. 45 3. 60 4. 300
39. การจัดซื้อหรือจัดจ้างในวงเงินเท่าใดที่ไม่ต้องทำเป็นหนังสือไว้ต่อกันก็ได้
1. 3,000 บาท 2. 4,000 บาท
3. 5,000 บาท 4. 10,000 บาท
40. การจัดหาในกรณีดังต่อไปนี้จะต้องทำเป็นหนังสือไว้ต่อกัน
1. การซื้อหรือการจ้างโดยวิธีตกลงราคา 2. การซื้อหรือการจ้างโดยวิธีกรณีพิเศษ
3. การเช่า ซึ่งผู้เช่าไม่ต้องเสียเงินอื่นใดนอกจากค่าเช่า 4. ถูกทุกข้อ
1. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงินฯ
ก. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการรับเงินฯ พ.ศ. 2541
ข. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการรับเงินฯ พ.ศ. 2542
ค. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการรับเงินฯ พ.ศ. 2543
ง. ถูกทั้งข้อ 1 และข้อ 3
2. ใครเป็นผู้รักษาการตามระเบียบนี้ เเอ๊คกรุ๊ป
ก. อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ข. ปลัดกระทรวงมหาดไทย
ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ง. ผู้ว่าราชการจังหวัด
3. ผู้รักษาการตามระเบียบนี้อาจมอบอำนาจให้บุคคลใดได้อีก
ก. อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ข. ผู้ว่าราชการจังหวัด
ค. อธิบดีกรมการปกครอง ง. ถูกทั้งข้อ 1 และข้อ 2
4. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหมายถึง.....ข้อใด
ก. องค์การบริหารส่วนจังหวัด ข. กิจการพาณิชย์ของ อปท.
ค. เมืองพัทยา ง. ถูกหมดทุกข้อ
5. ข้อใดไม่ถือเป็นสาระสำคัญของใบเสร็จรับเงิน
ก. ตราเครื่องหมายและชื่อของ อปท.
ข. ที่ทำการหรือสำนักงาน
ค. ไม่ต้องระบุว่าได้รับเงินเป็นการถูกต้องแล้วก็ได้
ง. ชื่อและชื่อสกุลของบุคคลหรือนิติบุคคลผู้ชำระเงิน
6. คณะกรรมการเก็บรักษาเงินต้องมีจำนวนเท่าใดเเอ๊คกร๊ป
ก. ไม่เกิน 3 คน ข. อย่างน้อย 3 คน
ค. 2 คน ง. เท่าไหร่ก็ได้
7. มีใครเป็นกรรมการโดยตำแหน่ง
ก. ปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ข. รองปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ค. หัวหน้าหน่วยงานคลัง ง. เจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี
8. ก่อนการเบิกจ่ายเงินตามงบประมาณรายจ่ายหน่วยงานผู้เบิกจะต้องทำอย่างไร
ก. ยื่นแผนการใช้จ่ายเงินด่วนหน่วยงานคลังทุกสามเดือน
ข. ยื่นแผนการใช้จ่ายเงินด่วนหน่วยงานคลังทุกสี่เดือน
ค. ยื่นแผนการใช้จ่ายเงินด่วนหน่วยงานคลังทุกเดือน
ง. ถูกหมดทุกข้อ
9. เงินที่ต้องจ่ายประจำเดือนในวันสิ้นเดือน ให้วางฎีกาภายในวันที่เท่าไหร่ของเดือน
ก. ภายในวันที่ 5 ของเดือน ข. ภายในวันที่ 15 ของเดือน
ค. ภายในวันที่ 20 ของเดือน ง. ภายในวันที่ 25 ของเดือน
10. การซื้อ เช่าทรัพย์สิน หรือจ้างทำของให้หน่วยงานผู้เบิกรับวางฎีกาเบิกเงินโดยเร็ว อย่างช้าไม่เกินกี่วันนับจากวันที่ได้ตรวจรับ
ก. 5 วัน ข. 7 วัน ค. 10 วัน ง. 15 วัน
11. การจ่ายเงินตามสิทธิที่พึงได้รับให้แก่เจ้าหนี้หรือผู้มีสิทธิรับเงิน หากมีความจำเป็นที่จะต้องสั่งจ่ายเป็นเงินสด ให้กระทำได้ในการจ่ายเงินที่มีวงเงินเท่าไรact 081-445-1423
ก. ไม่เกิน 5,000 บาท ข. ต่ำกว่า 2,000 บาท
ค. มากกว่า 2,000 บาท ง. ตั้งแต่ 500 บาทขึ้นไป
12. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. การจ่ายเงินให้เจ้าหนี้ให้ออกเช็คสั่งจ่ายในนามของเจ้าหนี้
ข. ให้ขีดฆ่าคำว่า “หรือตามคำสั่ง” หรือ “หรือผู้ถือ” ออกและขีดคร่อมด้วย
ค. การขอรับเงินสดให้ออกเช็คสั่งจ่ายในนามหัวหน้าหน่วยงานคลัง ห้ามออกเช็คสั่งจ่ายเงินสด
ง. หากเจ้าหนี้หรือผู้มีสิทธิรับเงินไม่มารับเช็คภายในสิบวันนับแต่วันสั่งจ่าย ให้ยกเลิกเช็คนั้น
13. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอาจจ่ายขาดเงินสะสมได้เท่าไร
ก. ไม่เกินร้อยละ 40 ของเงินสะสมทั้งหมด
ข. ไม่เกินร้อยละ 25 ของเงินงบประมาณรายรับ
ค. ไม่เกินร้อยละ 40 ของงบประมาณรายจ่ายเพื่อการลงทุนปีนั้น
ง. ไม่เกินร้อยละ 40 ของเงินงบประมาณรายจ่ายทั้งหมดของปีนั้น
14. ทุกวันสิ้นปีงบประมาณ เมื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ปิดบัญชีรายรับ รายจ่ายแล้ว ให้กันยอดเงินสะสมประจำปีไว้เท่าไร
ก. ร้อยละ 25 ของทุกปี ข. ร้อยละ 20 ของทุกปี
ค. ร้อยละ 15 ของทุกปี ง. ร้อยละ 10 ของทุกปี
15. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอาจยืมเงินสะสมไปทดรองจ่ายก่อนได้ในกรณีใด
ก. ผู้รับบำนาญที่ย้ายภูมิลำเนาและประสงค์จะโอนการรับเงินบำนาญไปรับใน อปท. ประเภทเดียวกันในท้องที่ที่ย้ายไปอยู่ใหม่
ข. ได้รับแจ้งการจัดสรรเงินอุดหนุนที่รัฐบาลระบุวัตถุประสงค์ยกเว้นงบลงทุน แต่ยังมิได้รับเงิน
ค. กิจการพาณิชย์ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ง. ถูกหมดทุกข้อ
16. ข้อใดไม่ถือเป็นเงินรายรับขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ก. ภาษีที่ได้รับจัดสรรจากรัฐบาล ข. ดอกเบี้ยเงินฝาก
ค. ค่าธรรมเนียมจดทะเบียนพาณิชย์ ง. ภาษีและค่าธรรมเนียมรถยนต์และล้อเลื่อน
17. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. การแต่งตั้งกรรมการเก็บรักษาเงิน ให้แต่งตั้งจากพนักงานส่วนท้องถิ่นตั้งแต่ระดับสองหรือเทียบเท่าขึ้นไป
ข. ตู้นิรภัยให้มีกุญแจอย่างน้อยสามดอก แต่ละดอกมีลักษณะต่างกัน โดยให้กรรมการเก็บรักษาเงินถือกุญแจคนละดอก
ค. การอนุมัติฎีกาเบิกเงิน เพื่อจ่ายเป็นค่าซื้อทรัพย์สินหรือจ้างทำของในกรณีที่ไม่มีเหตุผลทักท้วง ให้ดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 5 วันทำการ
ง. ใบเสร็จรับเงินเล่มใดใช้สำหรับรับเงินของปีใดให้ใช้รับเงินภายในปีนั้นเท่านั้น
18. ข้อใดเป็นการจ่ายเงินที่ผู้จ่ายทำใบรับรองการจ่ายเงินโดยไม่ต้องทำบันทึกชี้แจงเหตุผล
ก. การจ่ายเงินค่ารถหรือเรือนั่งรับจ้าง
ข. การจ่ายเงินรายหนึ่ง ๆ เป็นจำนวนสิบบาทขึ้นไป
ค. การจ่ายค่าโดยสารเครื่องบิน
ง. ไม่มีข้อใดถูก
19. ขอใดถือเป็นเงินนอกงบประมาณ
ก. เงินรายจ่ายตามข้อผูกพัน ข. เงินอุดหนุนที่รัฐบาลระบุวัตถุประสงค์
ค. เงินรายจ่ายงบกลาง ง. เงินอุดหนุนส่วนราชการอื่น
20. เงินที่ยืมไปกรณีเดินทางไปประจำต่างสำนักงานหรือเดินทางกลับภูมิลำเนาเดิม ให้ส่งใช้เงินยืมภายในกี่วันนับจากวันที่ได้รับเงิน
ก. 7 วัน ข. 15 วัน
ค. 30 วัน ง. 45 วัน
21. กรณีที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ก่อหนี้ผูกพันไว้ก่อนสิ้นปี ถ้าเห็นว่าเบิกเงินไปชำระหนี้ผูกพันไม่ทันสิ้นปีใครเป็นผูอนุมัติให้กันเงินได้
ก. ผู้ว่าราชการจังหวัด ข. นายอำเภอ
ค. ผู้บริหารท้องถิ่น ง. สภาท้องถิ่น
22. กรณีรายจ่ายหมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง ยังไม่ได้ก่อหนี้ผูกพัน แต่มีความจำเป็นต้องใช้เงินนั้นต่อไปอีก ให้รายงานขออนุมัติกันเงินต่อใคร
ก. ผู้บริหารท้องถิ่น ข. สภาท้องถิ่น
ค. ผู้ว่าราชการจังหวัด ง. นายอำเภอ
23. ผู้ใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการจ่ายขาดเงินสะสมตามระเบียบ มท. ว่าด้วยการเงินฯ พ.ศ. 2547
ก. กระทำได้เฉพาะกิจการซึ่งอยู่ในอำนาจหน้าที่ของ อปท. ซึ่งเกี่ยวกับด้านการบริหารชุมชนและสังคม
ข. ได้กันเงินสะสมไว้เพียงพอที่จะจ่ายเป็นเงินเดือน ค่าจ้าง ค่าตอบแทน ไม่น้อยกว่าระยะเวลาที่เหลือ แต่ทั้งนี้ต้องไม่น้อยกว่าสามเดือน
ค. ได้ส่งเงินสมทบกองทุนส่งเสริมกิจการของ อปท. แต่ละประเภทตามระเบียบ
ง. เมื่อได้รับอนุมัติให้จ่ายขาดเงินสะสมแล้ว อปท. ต้องดำเนินการก่อหนี้ผูกพันและเบิกจ่ายให้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาไม่เกินหนึ่งปีถัดไป
24. ถ้าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการประกาศยกเลิกการประกวดราคาซื้อหรือจ้าง และไม่มีการพิจารณาการประกวดราคาใหม่ ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการพัสดุฯ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีวิธีปฏิบัติในการถอนคืนเงินรายรับอย่างไร ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. ขอเงินคืนภายหลังจากปีงบประมาณที่รับเงินรายรับ ให้จ่ายคืนเงินรายรับในปีงบประมาณที่ขอคืนเงิน
ข. ของเงินคืนภายในปีงบประมาณที่รับเงิน เมื่อตรวจสอบแล้วเห็นว่าถูกต้องให้จ่ายคืนเงินรายรับดังกล่าว โดยได้รับอนุมัติจากสภาท้องถิ่น
ค. ขอเงินคืนภายหลังจากปีงบประมาณที่รับเงินรายรับ เมื่อตรวจสอบแล้วเห็นว่าถูกต้อง อปท. สามารถยืมเงินสะสมมาจ่ายได้ โดยได้รับอนุมัติจากสภาท้องถิ่น
ง. ขอเงินคืนภายหลังจากปีงบประมาณที่รับเงินรายรับ เมื่อตรวจสอบแล้วเห็นว่าถูกต้อง อปท. สามารถยืมเงินสะสมมาจ่ายได้โดยได้รับอนุมัติจากผู้บริหาร
25. เงินที่เบิกไปถ้าไม่ได้จ่ายหรือจ่ายไม่หมดให้หน่วยงานผู้เบิกนำส่งคืนหน่วยงานคลัง ภายในกี่วัน
ก. ภายใน 3 วัน นับจากวันที่ได้รับจากหน่วยงานคลัง
ข. ภายใน 7 วัน นับจากวันที่ได้รับจากหน่วยงานคลัง
ค. ภายใน 10 วัน นับจากวันที่ได้รับจากหน่วยงานคลัง
ง. ภายใน 15 วัน นับจากวันที่ได้รับจากหน่วยงานคลัง
26. การถอนเงินฝากธนาคารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้แจ้งเงื่อนไขการสั่งจ่ายต่อธนาคารอย่างไร
ก. ให้ผู้มีอำนาจลงนามสั่งจ่ายเงินร่วมกันอย่างน้อยสองในสามคนในจำนวนนี้ให้มีผู้บริหารท้องถิ่น และปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นลงนามสั่งจ่ายด้วยทุกครั้ง
ข. ให้ผู้มีอำนาจลงนามสั่งจ่ายเงินร่วมกันอย่างน้อยสองในจำนวนนี้ให้มีผู้บริหารท้องถิ่น และปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือหัวหน้าหน่วยงาน
ค. ให้ผู้มีอำนาจลงนามสั่งจ่ายเงินร่วมกันอย่างน้อยสองคนในจำนวนนี้มีนายก อปท. หรือรองนายก อปท. ผู้ได้รับมอบหมาย กับปลัด อปท. หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายที่มีตำแหน่งไม่ต่ำกว่าหัวหน้าหน่วยงานและลงลายมือชื่อถอนร่วมกัน
ง. ให้มีผู้มีอำนาจลงนามสั่งจ่ายเงินร่วมกันอย่างน้อยสามคนในจำนวนนี้ให้มีผู้บริหารท้องถิ่นและปลัด อปท. ลงนามสั่งจ่ายด้วยทุกครั้ง และให้มีผู้บริหารท้องถิ่นมอบหมายให้ผู้ช่วยผู้บริหารท้องถิ่น หรือผู้ดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าหัวหน้าหน่วยงานอีกหนึ่งคนลงลายมือชื่อถอนเงินฝากร่วมกัน
27. ใครเป็นผู้พิจารณาอนุมัติให้ขยายเวลายื่นขอกันเงินได้ไม่เกินวันทำการสุดท้ายของปีนั้น
ก. ผู้บริหารท้องถิ่น ข. ผู้ว่าราชการจังหวัด
ค. สภาท้องถิ่น ง. นายอำเภอหรือผู้เป็นหัวหน้ากิ่งอำเภอ
28. เมื่อสิ้นสุดระยะเวลาการกันเงินและขยายเวลาเบิกจ่ายเงินแล้วหากไม่ได้ดำเนินการหรือมีเงินเหลือจ่ายจากเงินดังกล่าวให้ทำอย่างไรกับเงินจำนวนนั้น
ก. รับเข้าเป็นเงินรายรับ ข. ส่งคืนคลังเป็นเงินรายได้แผ่นดิน
ค. ตกเป็นเงินสะสม ง. ให้ตั้งไว้เป็นเงินรับฝาก
29. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. เงินประเภทใดมีใบเสร็จรับเงินวันหนึ่ง ๆ หลายฉบับ จะรวมรับเงินประเภทนั้นตามสำเนาใบเสร็จทุกฉบับมาบันทึกในบัญชีรายการเดียวก็ได้
ข. การรับเงินภายหลังกำหนดวันนั้นแล้ว ให้บันทึกการรับเงินในวันทำการถัดไป และเก็บเงินสดในตู้นิรภัย
ค. เงินรายได้ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดหาขึ้นเป็นครั้งคราว หากมีเงินเหลือจ่ายหรือหมดความจำเป็นที่จะต้องใช้แล้ว ให้นำส่งเป็นรายได้ของ อปท.
ง. การจ่ายเงินให้แก่เจ้าหนี้ หรือผู้มีสิทธิให้จ่ายเป็นเช็ค กรณีจำเป็นที่ไม่อาจจ่ายเป็นเช็คได้ ให้จัดทำในถอนเงินฝากธนาคารออกตั๋วแลกเงินสั่งจ่ายให้เจ้าหนี้
30. หัวหน้าหน่วยงานคลัง จัดทำงบแสดงฐานะการเงิน และงบอื่นๆ ตามแบบที่กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกำหนด ส่งให้ สตง. ตรวจสอบ ภายในกี่วัน
ก. ภายใน 30 วัน นับแต่วันสิ้นปี ข. ภายใน 45 วัน นับแต่วันสิ้นปี
ค. ภายใน 60 วัน นับแต่วันสิ้นปี ง. ภายใน 90 วัน นับแต่วันสิ้นปี
31. การตรวจสอบบัญชีและหลักฐานการรับจ่ายเงิน หัวหน้าหน่วยงานผู้เบิกมีหน้าที่ให้คำชี้แจงและอำนวยความสะดวกแก่เจ้าหน้าที่ของ สตง. และหากได้รับข้อทักท้วงจะต้องปฏิบัติตามคำทักท้วงโดยเร็ว ภายในกี่วัน
ก. อย่างช้าไม่เกิน 45 วัน นับจากวันที่ อปท. ได้รับแจ้งขอทักท้วงนั้น
ข. อย่างช้าไม่เกิน 30 วัน นับจากวันที่ อปท. ได้รับแจ้งขอทักท้วงนั้น
ค. อย่างช้าไม่เกิน 60 วัน นับจากวันที่ อปท. ได้รับแจ้งขอทักท้วงนั้น
ง. อย่างช้าไม่เกิน 90 วัน นับจากวันที่ อปท. ได้รับแจ้งขอทักท้วงนั้น
สนใจสั่งซื้อมาที่ 080-604-2510 ,080-604-2504 หรือ ส่ง SMS / (WhatsApp , LINE)
ส่งเป็นไฟล์เอกสารส่งทางอีเมล์ สามารถนำไปปริ้นเพื่ออ่านได้เลย ในราคาเพียงชุดละ 399 บาท
ส่งเป็นไฟล์เอกสารทางอีเมล์ *อย่างด่วนภายใน 3 ชม. *อย่างช้าก่อน 24:00 น. ของวันที่โอนเงิน (อย่าลืม! เช็คที่ อีเมลขยะ)
(เปิดบริการทุกวัน เวลา 8.00 - 24.00 น.)
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 041-2-34899-2 ธ.กสิกรไทย ออมทรัพย์
สาขาถนนสาธุประดิษฐ์ ชื่อบัญชี สายรุ้ง สิงห์ศรี
โอนเงินแล้วแจ้งที่ [email=lookmoo_00@hotmail.com]lookmoo_00@hotmail.com[/email]