1. พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
พ.ศ. 2542 ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนด
กี่วันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ก. 90
วัน ค. 120 วัน
ข. 100
วัน ง. 145
วัน
2. พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
พ.ศ. 2542 มีกี่หมวด กี่มาตรา
ก. 7 หมวด
65 มาตรา ค. 6 หมวด 65
มาตรา
ข. 7 หมวด
66 มาตรา ง. 6 หมวด 66 มาตรา
3. “ความผิดมูลฐาน” หมายความว่า
ก. ความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด
ข. ความผิดเกี่ยวกับเพศตามประมวลกฎหมายอาญา
ค. ความผิดเกี่ยวกับการฉ้อโกงประชาชนตามประมวลกฎหมายอาญา
ง. ถูกทุกข้อ
4. ข้อใด ไม่ใช่ ความหมาย
“ธุรกรรม”
ก. กิจกรรมที่เกี่ยวกับการทำ นิติกรรม
สัญญา หรือการดำ เนินการใด ๆ กับผู้อื่นทางการเงิน
ข. กิจกรรมที่เกี่ยวกับการทำ นิติกรรม
สัญญา หรือการดำ เนินการใด ๆ กับผู้อื่นทางธุรกิจ
ค. กิจกรรมที่เกี่ยวกับการทำ นิติกรรม
สัญญา หรือการดำ เนินการใด ๆ เกี่ยวกับทรัพย์สิน
ง. ไม่มีข้อใดผิด
5. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับ “ธุรกรรมที่มีเหตุอันควรสงสัย”
ก. ธุรกรรมที่มีความซับซ้อนผิด
ข. ธุรกรรมที่ขาดความเป็นไปได้ในเชิงเศรษฐกิจ
ค. ธุรกรรมอาจเกี่ยวข้องกับการกระทำความผิดมูลฐาน
ง. ถูกทุกข้อ
6. ข้อใด ไม่ใช่ “ทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทำ ความผิด”
ก. เงินหรือทรัพย์สินที่ได้มาจากการกระทำ
ซึ่งเป็นความผิดมูลฐาน
ข. เงินหรือทรัพย์สินที่ได้มาจากการจำหน่าย
จ่าย โอนด้วยประการใด ๆ
ค. ดอกผลของเงินหรือทรัพย์สินที่ได้มาจากการกระทำ
ซึ่งเป็นความผิดมูลฐาน
ง. เงินหรือทรัพย์สินที่ได้มาจากการทำธุรกิจ
7. ผู้ใดกระทำ ด้วยประการใด ๆ เพื่อปกปิดหรืออำ พรางลักษณะที่แท้จริง
การได้มา แหล่งที่ตั้ง การจำหน่าย การโอน การได้สิทธิใด ๆ ซึ่งทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทำ
ความผิด ผู้นั้นกระทำ ความผิดฐานฟอก
เงิน
อยู่ในมาตราใด
ก. มาตรา 5 ค. มาตรา 7
ข. มาตรา 6 ง.
มาตรา 8
8. ผู้ใดสมคบโดยการตกลงกันตั้งแต่ 2
คนขึ้นไปเพื่อกระทำ ความผิดฐานฟอกเงิน
ต้องระวางโทษกึ่งหนึ่งของโทษที่กำหนดไว้สำหรับความผิดนั้น อยู่ในมาตราใด
ก. มาตรา 8 ค. มาตรา 7
ข. มาตรา 9 ง.
มาตรา 6
9. ผู้ใดกระทำความผิดตามหมวดนี้ต้องระวางโทษเป็น 2
เท่าของโทษที่กำหนดไว้สำหรับความผิดนั้น
ก. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ค. ผู้บริหารท้องถิ่น
ข. กรรมการธุรกรรม ง.
ถูกทั้ง ก และ ค
10. ผู้ใดที่กระทำความผิดต้องระวางโทษเป็น 3 เท่า
ของโทษที่กำหนดไว้สำหรับความผิดนั้น
ก. พนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ค. สมาชิกวุฒิสภา
ข. เลขาธิการ ง.
พนักงานรัฐวิสาหกิจ
11. สถาบันการเงินมีหน้าที่ต้องรายงานการทำธุรกรรมนั้นต่อสำนักงานเมื่อปรากฏว่าธุรกรรมดังกล่าวเป็นอย่างไร
ก. ธุรกรรมที่ใช้เงินสดมีจำนวนเกินกว่าที่กำหนดในกฎกระทรวง
ข. ธุรกรรมที่เกี่ยวกับทรัพย์สินที่มีมูลค่าเกินกว่าที่กำหนดในกฎกระทรวง
ค. ธุรกรรมที่มีเหตุอันควรสงสัย
ง. ถูกทุกข้อ
12. หน่วยงานใดมีหน้าที่ต้องรายงานต่อสำนักงานเมื่อปรากฏว่ามีการขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม
เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ที่สถาบันการเงินมิได้เป็นคู่กรณี
ก. สำนักงานที่ดินกรุงเทพมหานคร
ค.
สำนักงานที่ดินสาขา
ข. สำนักงานที่ดินจังหวัด
ง. ถูกทุกข้อ
13. สถาบันการเงินต้องเก็บรักษารายละเอียดเกี่ยวกับการแสดงตนและบันทึกข้อเท็จจริงเป็นเวลากี่ปีนับแต่วันที่มีการปิดบัญชีหรือยุติความสัมพันธ์กับลูกค้า
ก. 3 ปี ค. 5 ปี
ข. 4 ปี ง. 6 ปี
14. ใครเป็นประธานในคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ค. ปลัดกระทรวงยุติธรรม
ข. นายกรัฐมนตรี ง.
ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง
15. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวนกี่คน
ก. 5 คน ค. 9 คน
ข. 7 คน ง. 10 คน
สนใจสั่งซื้อมาที่ 080-604-2510 ,080-604-2504 หรือ ส่ง SMS / (WhatsApp , LINE)
ส่งเป็นไฟล์เอกสารส่งทางอีเมล์ สามารถนำไปปริ้นเพื่ออ่านได้เลย ในราคาเพียงชุดละ 399 บาท
ส่งเป็นไฟล์เอกสารทางอีเมล์ *อย่างด่วนภายใน 3 ชม. *อย่างช้าก่อน 24:00 น. ของวันที่โอนเงิน (อย่าลืม! เช็คที่ อีเมลขยะ)
(เปิดบริการทุกวัน เวลา 8.00 - 24.00 น.)
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
ธ.กสิกรไทย ออมทรัพย์ สาขาถนนสาธุประดิษฐ์ เลขที่บัญชี 041-2-34899-2 ชื่อบัญชี สายรุ้ง สิงห์ศรี
โอนเงินแล้วแจ้งที่ lookmoo_00@hotmail.com